ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 41,340 รายการ
หมวดหมู่ พุทธศาสนาภาษา บาลี/ไทยอีสานหัวเรื่อง การถวายผ้าอาบน้ำฝน พิธีกรรมประเภทวัสดุ/มีเดีย คัมภีร์ใบลานลักษณะวัสดุ 12 หน้า : กว้าง 5ซม. ยาว 58 ซม. บทคัดย่อ
เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอม เส้นจาร ฉบับชาดทึบ ได้รับบริจาคมาจากพระอธิการเด่น ปญฺญาทีโป วัดคิรีรัตนาราม ต.ดอนคา อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี ดำเนินการอนุรักษ์เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2534
ยอดธงเทวรูปสำริด ศิลปะลพบุรี (ศิลปะเขมรในประเทศไทย) อายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๖ พบที่ปราสาทพนมวัน อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ลักษณะเป็นเทวรูปสำริด สวมกระบังหน้า มงกุฎทรงกรวย สวมกุณฑล กรองศอ พาหุรัด ทองพระกร ทองพระบาท นุ่งผ้าสั้นเหนือเข่า ชักชายผ้าวงโค้งด้านหน้า แสดงอิริยาบถท่าทางยกมือขึ้นทั้งสองข้าง และยกเท้าขวาขึ้น โดยยืนเหนือแท่น ยอดธงหรือยอดเสาธงชัยนั้นเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้ในการนำขบวนบุคคลสำคัญ ซึ่งปรากฏแวดล้อมคู่กับธงและเครื่องสูง ยอดธงนี้ปรากฏตั้งแต่สมัยอาณาจักรเขมร โดยปรากฏทั้งที่ภาพสลักปราสาทนครวัดและปราสาทนครธม ลักษณะเป็นประติมากรรมรูปสัตว์ รูปครุฑ รูปพระนารายณ์ทรงครุฑ รวมถึงในฉากตอนที่มีการเคลื่อนทัพ นอกจากนี้ยังปรากฎทับหลังในประเทศไทย ดังเช่น ทับหลังรามายณะ ตอน สุครีพครองเมือง ศิลปะลพบุรี (ศิลปะเขมรในประเทศไทย) อายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๗ พบที่ปราสาทพิมาย อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา มีลักษณะเป็นยอดธงนำหน้าขบวนทัพ โดยแวดล้อมพร้อมด้วยเครื่องสูง โดยหลักฐานการปรากฏยอดธงนั้น ยังคงปรากฏจนถึงปัจจุบัน ตัวอย่างเช่นธงชัยเฉลิมพลสมัยรัตนโกสินทร์ นั้นเป็นพระพุทธรูปและของมงคล เพื่อเป็นการคุ้มครอง อำนวยพร และสร้างความมีชัยให้กับเหล่าทัพ ยอดธง ศิลปะลพบุรี (ศิลปะเขมรในประเทศไทย) อายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๖ พบที่ปราสาทพนมวัน อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ทับหลังรามายณะ ตอน สุครีพครองเมือง ศิลปะลพบุรี (ศิลปะเขมรในประเทศไทย) อายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๗ พบที่ปราสาทพิมาย อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ตำแหน่งของยอดธงจากภาพสลักทับหลังของปราสาทพิมาย ลายเส้นยอดธงปราสาทนครวัด ภาพลายเส้น อ้างอิงจาก นายมนตรี ชมชิดนุช,ธงที่ปรากฏในภาพสลักเล่าเรื่องในศิลปะเขมรสมัยนครวัดและบายน กรณีศึกษา ปราสาทนครวัดและปราสาทบายน,(สาขาวิชาเขมรศึกษา ภาควิชาภาษาตะวันออก บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร,๒๕๔๗),๑๕๘. โดยอ้างจาก Jacq-Hergoualc’h, Michel, I’Armemnt et l’ Organization de I’Armee Khmere (Paris:Presses Univer sitaires de Frence,1979),198. ลายเส้นยอดธงปราสาทบายน ภาพลายเส้น อ้างอิงจาก นายมนตรี ชมชิดนุช,ธงที่ปรากฏในภาพสลักเล่าเรื่องในศิลปะเขมรสมัยนครวัดและบายน กรณีศึกษา ปราสาทนครวัดและปราสาทบายน,(สาขาวิชาเขมรศึกษา ภาควิชาภาษาตะวันออก บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร,๒๕๔๗),๑๕๙. โดยอ้างจาก Jacq-Hergoualc’h, Michel, I’Armemnt et l’ Organization de I’Armee Khmere (Paris:Presses Univer sitaires de Frence,1979),199. ------------------------------------------------------- ข้อมูลโดย นางสาวอทิตยา ถิระโชติ ภัณฑารักษ์ปฏิบัติการ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพิมาย ข้อมูลอ้างอิง นายมนตรี ชมชิดนุช.ธงที่ปรากฏในภาพสลักเล่าเรื่องในศิลปะเขมรสมัยนครวัดและบายน กรณีศึกษา ปราสาทนครวัดและปราสาทบายน.บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร,๒๕๔๗. ภาพลายเส้นอ้างอิงจาก นายมนตรี ชมชิดนุช,ธงที่ปรากฏในภาพสลักเล่าเรื่องในศิลปะเขมรสมัยนครวัดและบายน กรณีศึกษา ปราสาทนครวัดและปราสาทบายน,(บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร,๒๕๔๗),๑๕๘-๑๕๙. โดยอ้างจาก Jacq-Hergoualc’h, Michel, I’Armemnt et l’ Organization de I’Armee Khmere (Paris:Presses Univer sitaires de Frence,๑๙๗๙),๑๙๘-๑๙๙.
หมวดหมู่ พุทธศาสนาภาษา บาลี/ไทยหัวเรื่อง พุทธศาสนา—บทสวดมนต์ บทสวดมนต์ พระอภิธรรมประเภทวัสดุ/มีเดีย คัมภีร์ใบลานลักษณะวัสดุ 18 หน้า : กว้าง 5 ซม. ยาว 55 ซม. บทคัดย่อ
เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอม เส้นจาร ฉบับล่องชาด ได้รับบริจาคมาจากพระครูวิมลสังวร วัดแค ต.รั้วใหญ่ อ.เมืองฯ จ.สุพรรณบุรี
เลขทะเบียน : นพ.บ.34/4ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 50 หน้า ; 4.5 x 54 ซ.ม. : รักทึบ-ล่องชาด-ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 20 (205-216) ผูก 4หัวเรื่อง : สตฺตปปกฺรณาธมฺม --เอกสารโบราณ ธัมมสังคิณี --เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
เลขทะเบียน : นพ.บ.59/4ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 70 หน้า ; 4.8 x 51.5 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา มีฉลากไม้แกะสลักชื่อชุด : มัดที่ 38 (376-381) ผูก 4หัวเรื่อง : สุชวัณณจักกกุมาร --เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
***บรรณานุกรม***
กระทรวงมหาดไทย
แสวง ชัยอาญา อนุสรณ์ กระทรวงมหาดไทย พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายแสวง ชัยอาญา ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาส วันพฤหัสบดีที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2503
พระนคร
โรงพิมพ์มหาดไทย
2503
ชื่อเสียงของหม่อมหลวงพวงร้อย อภัยวงศ์ ในด้านการแต่งเพลงนั้นเป็นที่ทราบกันดีทั่วไปแล้วการได้รับการยกย่องให้เป็นศิลปินอาวุโสระดับชาติย่อมยืนยันในเกียรติคุณ หลายเพลงที่หม่อมหลวงพวงร้อยแต่งเป็นเพลงที่เรียกได้ว่า "เพลงอมตะ"
ศิลปากร, กรม. ประวัติวัดพนัญเชิงวรวิหาร. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2516.
ในปี พ.ศ.2516 กรมศิลปากรได้รับพระราชทานผ้าพระกฐินไปทอด ณ วัดพนัญเชิงวรวิหาร จึงได้รวบรวมและเรียบเรียงประวัดพนัญเชิงขึ้น เนื้อหาประกอบด้วย ประวัติวัด หลักฐานและตำนานการสร้างวัด ความสำคัญและเหตุการณ์เกี่ยวกับวัด สิ่งสำคัญภายในวัด ศิลปวัตถุภายในวัด ตลอดจนลำดับเจ้าอาวาสและผลประโยชน์ของวัด
ชื่อเรื่อง : กระบวนพยุหยาตราชลมารค
ผู้แต่ง : ณัฏฐภัทร จันทวิช
ปีที่พิมพ์ : ๒๕๒๘
สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ
สำนักพิมพ์ : โรงพิมพ์บุ้นกวง
หมายเหตุ : พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานทำบุญอายุครบ ๘๐ ปีพระปรีชาเฉลิม (ติลกะเถระ)
พุทธชัยมงคล ๘ เป็นเรื่องชัยชนะของพระพุทธเจ้าเกี่ยวกับสวัสดิมงคลของคนทั่วๆไปมีเรื่องพระยามาร เรื่องอาฬวกยักษ์ เรื่องช้างนาฬาคิรี เรื่ององคุลิมาลโจร เรื่องนางจิญจมาณวิกา เรื่องสัจจกนิครนถ์ เรื่องนันโทปนันทนาคราชและเรื่องพกาพรหม
ชื่อเรื่อง : พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ผู้แต่ง : กระทรวงวัฒนธรรม
ปีที่พิมพ์ : 2559
สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ
สำนักพิมพ์ : กลุ่มประชาสัมพันธ์ สำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม