ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 41,561 รายการ
ชื่อผู้แต่ง พระยาโกมารกุลมนตรี
ชื่อเรื่อง สุบินนิมิต และ คติเทศ ของพระยาโกมารกุลมนตรี
สถานที่พิมพ์ กรุงเทพฯ
สำนักพิมพ์ โรงพิมพ์มหาดไทย
ปีที่พิมพ์ ๒๕๐๘
จำนวนหน้า ๙๖
หนังสือ สุบินนิมิต และ คติเทศ ของพระยาโกมารกุลมนตรี เล่มนี้ หลวงชลาไลยไกยกล พิมพ์แจกในงานฌาปนกิจศพ นางชลาไลยไกยกล (ชด บุนนาค) ผู้จัดพิมพ์ได้กล่าวไว้ว่า คำกลอนเรื่องพุทธทำนาย เป็นบทประพันธ์ที่ดี ทั้งในความรู้ทางสำนวนกลอน และทางสำนวนความ เป็นคำกลอนที่เริ่มเรื่องว่า พระพุทธเจ้าประทับอยู่ในเมืองสาวัตถี ณ เชตวันมหาวิหาร พระเจ้าปัดเถวน เสด็จไปเฝ้า และเล่าสุบินถวาย ขอให้พระพุทธเจ้าทรงทำนาย
สาระสังเขป : กลอนบทละครเรื่องไกรทองผู้แต่ง : ดำรงราชานุภาพ, พระเจ้าบรมวงษ์เธอ กรมพระโรงพิมพ์ : ม.ป.พ.ปีที่พิมพ์ : 2456ภาษา : ไทยรูปแบบ : PDFเลขทะเบียน : น.30ร.5195เลขหมู่ : 895.9112 ด495บ
หมวดหมู่ พุทธศาสนาภาษา บาลี/ไทยหัวเรื่อง พุทธศาสนา—เทศนา ธรรมเทศนาประเภทวัสดุ/มีเดีย คัมภีร์ใบลานลักษณะวัสดุ 30 หน้า : กว้าง 5 ซม. ยาว 57 ซม. บทคัดย่อ
เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอม เส้นจาร ฉบับล่องชาด ได้รับบริจาคมาจากพระครูวิมลสังวร วัดแค ต.รั้วใหญ่ อ.เมืองฯ จ.สุพรรณบุรี
เลขทะเบียน : นพ.บ.57/4ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 36 หน้า ; 4 x 49.5 ซ.ม. : ชาดทึบ-รักทึบ ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 37 (364-375) ผูก 5หัวเรื่อง : แปดหมื่นสี่พันขันธ์ --เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
การประชุมสำนักศิลปากรที่ ๑๒ นครราชสีมา ครั้งที่ ๙/๒๕๕๙วันพฤหัสบดีที่ ๒๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ณ ห้องประชุมสำนักศิลปากรที่ ๑๒ นครราชสีมา
ครูโป๊ะ ชยาภา อานามวัฒน์.ตุ๊กตาที่หายไป.จันท์ยิ้ม.(2):5;มิถุนายน-กรกฏาคม2560
"หวนคิดคํานึงถึงตอนที่ฉันยังเป็นเด็ก ๆ ตุ๊กตาที่ตัวเล็ก ๆ ก็ดูจะมีความหมาย
เติบโตในจินตนาการ กว้างไกลดังท้องทะเลทราย.."
ท่อนหนึ่งของเพลง ตุ๊กตา จากน้าแอ๊ด คาราบาวดังขึ้นมาแว่ว ๆ ทําให้นึกถึงเรื่องของเหล่านักเรียนตัวน้อยที่มาเรียนดนตรี ในชั่วโมง ทําแบบฝึกหัดทฤษฎี ครูให้เด็ก ๆ เขียนโน้ต โด เร มี บนบรรทัดห้าเส้น โดยใช้จินตนาการออกแบบได้อย่างอิสระ เด็กหญิงน้อย ๆ วาดเส้นบรรทัด เป็นลอนคลื่น บ้างทําโค้ง ๆ เป็นสายรุ้ง ขณะที่เด็กชายขอทําเป็นสายไฟ
“ผมจะวาดหน้าหุ่นยนต์กลม ๆ แทนโน้ตโค เรมี บนบรรทัด สายไฟ” เด็กชายบอก เด็กหญิงหันมา
“งั้นหนูจะวาตทะเล”
และ ในช่วงเวลาที่ ความรู้และจินตนาการทํางานร่วมกัน เด็ก ๆ หันมาถามเป็นระยะว่า โน้ตเปียโนหนูวาดรูปแครอท แต่ว่าอยู่ ในทะเลได้ไหม และ หนูวาตโน้ตตัวมีเป็นรูปหัวใจแทนวงกลมที่เส้นหนึ่ง ได้ไหมคะ
หากเราใช้ตรรกะของวัยผู้ใหญ่ตอบคําถามหนู ๆ ก็คงจะต้องสอน ไปว่า โน้ตต้องกลม ๆ สิคะ และแครอทก็อยู่ในทะเลไม่ได้นะจ๊ะ ทําไมหนู ไม่วาดปลา ปู กุ้ง หอย หรือ หุ่นยนต์อะไรครับ ดูไม่เหมือนหุ่นยนต์สักนิด แต่ครูกลับตอบเด็ก ๆ ว่า “ได้เลย ได้ทุกอย่าง ขอแค่ตัวโตต้องมีเส้นน้อย ตัวเรอยู่ใต้บรรทัดเส้นหนึ่ง และตัวมีอยู่บนบรรทัดที่หนึ่ง" สรุปว่าคาบนั้น เด็ก ๆ เขียนโน้ต 3 ตัวแรกเองได้ และอ่านโน้ตบหนังสือเพลงของพวกเขา รวมถึงเล่นบทเพลงโดยใช้โน้ตโดเรมี ออกมาได้เป็นอย่างดี เด็ก ๆ ชอบ และสนุกสนานมาก
วัยเด็ก เรามักจะมีความคิดอิสระอย่างเต็มที่ จินตนาการของเด็ก นั้นกว้างไกลไร้ขอบเขต หากแต่วันหนึ่ง ความจริง ชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การจํากัดกรอบโดยสังคม การเรียนที่เน้นวิชาการหนักหน่วงในยุคปัจจุบัน การแข่งขัน คะแนน และวาทกรรมการกวดวิชา ลดทอนจินตนาการและ ความคิดอันบรรเจิดของวัยเยลงไปทุกที พอรู้ตัว เด็ก ๆ ก็สูญเสียจินตนาการ และอิสรภาพทางความคิดไปเสียแล้ว ตุ๊กตาที่ตัวเล็ก ๆ ก็เลยไม่มี ความหมายวัยเยาว์นั้นสั้น และผู้ใหญ่อย่างเรา แม้หลงลืม ห่างไกล แต่ไม่ควรพรากมันไปจากเด็กน้อยเร็วนัก ให้โอกาสเด็ก ๆ ได้เป็นเด็ก อย่างเต็มที่ ส่งเสริมจินตนาการดี ๆ ในตัวพวกเขานะคะ
1. ตำรายาเกร็ด เช่น ยามหาคงคาน้อย, ยามหาปทัดการ ฯลฯ 2. เวทย์มนต์คาถา เช่น เสกน้ำชำระการ, เสกบอระเพชชจุดกาน, เสกน้ำอาบ ฯลฯ 3. ภาพแสดงจุดกำเนิดของฝีชนิดต่างๆ ตามร่างกาย 4. ตำรายาเกร็ดรักษาฝีชนิดต่างๆ พร้อมมนต์คาถา
วันศุกร์ที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙นายจารึก วิไลแก้ว ผู้อำนวยการสำนักศิลปากรที่ ๑๒ นครราชสีมาพร้อมด้วยหัวหน้าหน่วยงานในสังกัดร่วมรายงานผลการดำเนินงานของหน่วยงาน เสนอต่อหัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงวัฒนธรรม(นางสุรีรัตน์ วงศ์เสงี่ยม)ณ สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดชัยภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ
กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสือเรียนภาษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ ๕. กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว,
๒๕๓๓.
เป็นแบบเรียนภาษาไทยมีทั้งหมด ๒๒ บท มีภาพวาดประกอบ ที่เกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่ในสังคมไทยให้อยู่อย่างมีความสุข เช่น ความเป็นธรรมชาติ แม่น้ำลำคลอง บ้าน วัด โรงเรียน สถานีตำรวจ การดูแลด้านสาธารณสุข มีชูใจ มานี วีระ ปิติ เป็นตัวละครในหนังสือ และมีสัตว์เลี้ยงเป็นตัวละครประกอบที่สร้างสรรค์เนื้อเรื่องให้สนุกสนานมากยิ่งขึ้น