ค้นหา

รายการที่พบทั้งหมด 41,413 รายการ



เป็นอาคาร 3 ชั้น จัดแสดงนิทรรศการถาวรเกี่ยวกับพัฒนาการเมืองลพบุรีตั้งแต่ก่อนประวัติศาสตร์ถึงสมัยปัจจุบัน ดังนี้ ชั้นที่ 1 จัดแสดงนิทรรศการถาวรเรื่อง ลำดับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์เมืองลพบุรี เริ่มตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่มีอายุประมาณ 3,500 ปีมาแล้ว ต่อเนื่องมาจนถึงสมัยยุคต้นประวัติศาสตร์ หรือ สมัยทวารวดีและการเริ่มติดต่อ-สัมพันธ์กับดินแดนโพ้นทะเล ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 12 - 16 โดยจัดแสดงโบราณวัตถุสมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่พบจากแหล่งโบราณคดีต่างๆในจังหวัดลพบุรี ได้แก่ โครงกระดูกมนุษย์ ภาชนะดินเผา เครื่องมือเครื่องใช้ที่ทำจากโลหะ ภาชนะสำริด เครื่องประดับทำจากหินและเปลือกหอย เป็นต้น และโบราณวัตถุในวัฒนธรรมทวารวดีที่พบในจังหวัดลพบุรีและในภาคกลางของประเทศไทย เช่น เครื่องมือเครื่องใช้ เครื่องประดับ พระพุทธรูป พระพิมพ์ดินเผา จารึกภาษาบาลีสันสกฤต รูปเคารพต่างๆ ตราประทับดินเผา เหรียญเงิน เป็นต้นชั้นที่ 2 จัดแสดงลำดับพัฒนาการเมืองลพบุรีต่อเนื่องจากชั้นที่ 1 เข้าสู่ช่วง อิทธิพลศิลปะเขมรในประเทศไทย อายุราวพุทธศตวรรษที่ 16 - 18 จัดแสดงศิลปวัตถุและโบราณวัตถุที่สำคัญ เช่น ทับหลัง พระพุทธรูปนาคปรก และเทวรูปต่างๆ ต่อเนื่องมาจนถึงสมัยอยุธยา จัดแสดงงานศิลปกรรมและงานช่างในสมัยอยุธยา เรื่อยมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ชั้น 3 จัดแสดงนิทรรศการ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จัดแสดงในหัวข้อเรื่องประวัติศาสตร์ การเมือง สังคม วัฒนธรรมและพระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จัดแสดงร่วมกับพระบรมฉายาสาทิสลักษณ์ พระสาทิสลักษณ์ สิ่งของเครื่องใช้ส่วนพระองค์ เช่น พระแท่นบรรทม ฉลองพระองค์ เครื่องประกอบโต๊ะพระกระยาหารที่มีตราประจำพระองค์ (มงกุฎ) เป็นต้น


 บทความ เรื่อง อหิวาตกโรคในจังหวัดสงขลา ช่วง พ.ศ. ๒๕๑๗ - ๒๕๑๘ เรียบเรียงโดย นายปิยศักดิ์  ชัยชะนะ  นักจดหมายเหตุ


***บรรณานุกรม*** หนังสือหายาก กรมหมื่นนราธิปประพันธ์พงศ์.  พระราชพงศาวดารพม่า เล่ม ๕ พ.ศ. ๒๔๕๖.  ม.ป.พ., ๒๔๕๖.


หมวดหมู่                        พุทธศาสนาภาษา                            บาลีหัวเรื่อง                          พุทธศาสนา                                    พระไตรปิฏกประเภทวัสดุ/มีเดีย            คัมภีร์ใบลานลักษณะวัสดุ                    กว้าง 5.5 ซม. ยาว 58 ซม.; 36 หน้า บทคัดย่อ                      เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอม เส้นจาร ฉบับลานดิบ ได้รับบริจาคมาจากพระอธิการเด่น ปญฺญาทีโป วัดคิรีรัตนาราม  ต.ดอนคา อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี ดำเนินการอนุรักษ์เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2534




ชื่อเรื่อง : งานช่างศิลปกรรมในท้องถิ่น ผู้แต่ง : กรมศิลปากร ปีที่พิมพ์ : 2542 สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์ : ประชาชน


เลขทะเบียน : นพ.บ.6/1ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ :  52 หน้า  ; 4.5 x 56 ซ.ม. : ทองทึบ ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 4 (33-46) ผูก 1หัวเรื่อง : สมนฺตปาสาทิกา--เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม



อธิบดีกรมศิลปากร(นายอนันต์ ชูโชติ) และคณะ ลงพื้นที่ตรวจราชการในเขตพื้นที่สำนักศิลปากรที่ ๑๐ นครราชสีมา เพื่อติดตามความก้าวหน้าโครงการอนุรักษ์และพัฒนากำแพงเมืองด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือระยะที่ ๑ อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย ติดตามความก้าวหน้าโครงการขุดลอกบารายเมืองพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ติดตามความก้าวหน้าโครงการพัฒนาและเพิ่มศักยภาพสิ่งอำนวยความสะดวกถนน ลานจอดรถ ปราสาทเมืองต่ำ จังหวัดบุรีรัมย์ ติดตามความก้าวหน้าโครงการอนุรักษ์และพัฒนาอุทยานประวัติศาสาตร์พนมรุ้ง ติดตามความก้าวหน้าโครงการอนุรักษ์และพัฒนาปราสาทบ้านบุ จังหวัดบุรีรัมย์ ติดตามความก้าวหน้าโครงการอนุรักษ์และพัฒนาปราสาทปลายบัด๑ และปราสาทปลายบัด๒ จังหวัดบุรีรัมย์ ตรวจเยี่ยมหน่วยงานในสังกัดสำนักศิลปากรที่ ๑๐ นครราชสีมา ระหว่างวันที่ ๑๑-๑๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๐




 ชื่อผู้แต่ง         -ชื่อเรื่อง          นำต้นพระยาฉัตทันต์ครั้งที่พิมพ์      พิมพ์ครั้งที่ ๒สถานที่พิมพ์    กรุงเทพฯสำนักพิมพ์       โรงพิมพ์บารมีปีที่พิมพ์           ๒๕๒๗จำนวนหน้า       ๗๙ หน้าหมายเหตุ         พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพ นางสิน เจริญรุกข์                       พระยาฉัตทันต์เป็นชาดกแต่งด้วยคำประพันธ์ร้อยกรองหลายประเภทประกอบกาพย์ยานี กาพย์สุรางคนางและกาพย์ฉบัง   เนื้อเรื่องกล่าวถึงอดีตชาติขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเมื่อครั้งเสวยชาติเป็นพระยาช้างชื่อฉัตทันต์


1. เวทย์มนต์คาถา เช่น มนต์ทำเสน่ห์, มนต์เสกหมาก, เสกขี้ผึ้ง ฯลฯ 2.เวทย์มนต์คาถา อักษรขอม ภาษาบาลี 3. เวทย์มนต์คาถา อักษรขอม – ไทย ภาษาบาลี –ไทย เช่น มนต์สาริกาลิ้นทอง, ขี้ผึ้งทาปาก, เสกหมากเสกน้ำลูบหน้า ฯลฯ


Messenger