ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 41,566 รายการ
เมื่อวันพุธ ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๕ องค์การบริหารส่วนตำบลดงเค็ง อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ได้เข้าชมพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี รวม ๓๐ คน
เลี้ยงลูกให้เป็นอัจฉริยะ
ผู้แต่ง/ผู้แปล/ผู้เรียบเรียง : Author:
สุนันทา สิริโสภณ
Call#:
-
ครั้งที่พิมพ์ : Edition:
-
ผู้พิมพ์ : Publisher:
ทีบีเค มีเดีย พับบลิ่ชชิ่ง
อธิบาย : Description:
แนะนำหนังสือห้องหนังสือทั่วไป เดือนพฤศจิกายน 2555
ISBN:
-
ราคา : Price:
140 baht
สุนันทา สิริโสภณ. เลี้ยงลูกให้เป็นอัจฉริยะ. กรุงเทพฯ : ทีบีเค มีเดีย พับบลิ่ชชิ่ง, 2553. 175 หน้า. ภาพประกอบ. 140 บาท.
เป็นเคล็ดลับในการเลี้ยงลูกอย่างถูกวิธีแก่พ่อแม่ ให้รู้ถึงวิธีง่ายๆที่ช่วยลูกให้ฉลาด พร้อมทั้งร่างกายและจิตใจ เรื่องการเสริมพัฒนาการเด็กตั้งแต่ อายุ 0-12 เดือน การเติมอีคิวให้เด็ก วิธีปราบลูกดื้อ การสอนให้ลูกมีความรับผิดชอบ เป็นผู้ให้ด้วยใจบริสุทธิ์และยินดีที่ได้รับ ทำให้ลูกมีสุขภาพจิตที่ดี การเล่นกับลูกอย่างไรให้สนุกพร้อมด้วยเรื่องธรรมะกับการเลี้ยงลูก เรียนรู้เคล็ดลับต่างๆจากเนื้อหาสาระของเล่มนี้
155.4
ส816ล ห้องหนังสือทั่วไป
หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติฯ นครพนม และจังหวัดนครพนมได้เข้าร่วมกิจกรรม "คสช.คืนความสุขให้กับประชาชน" ในเดือนมิถุนายน 2557 งานนี้ได้จัดขึ้นตามอำเภอต่างๆของจังหวัดนครพนม ในงานมีการออกร้านแจกอาหารผลไม้เครื่องดื่ม และมีกิจกรรมบนเวที โดยจังหวัดทหารบกนครพนม เป็นที่ถูกอกถูกใจของประชาชนชาวจังหวัดนครพนมเป็นอย่างมาก
เป็นห้องที่ระลึก พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 จัดแสดงเครื่องใช้ส่วนพระองค์ ที่มีอยู่เดิมภายในพระราชวังแห่งนี้ ได้แก่ พระแท่นบรรทม พระราชอาสน์พร้อมเศวตฉัตร พระบรมฉายาลักษณ์ และเครื่องราชูปโภคต่างๆ ที่หาชมได้ยาก
***บรรณานุกรม***
หนังสือหายาก
ปั่น ศรีมุกด์. ประชุมนานาปัญหาวินัยมุข เล่ม 3 สำหรับนักธรรมเอก. พระนคร : เลี่ยงเซียงจงเจริญ, ๒๔๙๕.
ชื่อเรื่อง ประชุมพงศาวดาร เล่ม 26 (ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 44)ผู้แต่ง -ประเภทวัสดุ/มีเดีย หนังสือหายากหมวดหมู่ ประวัติศาสตร์ทวีปเอเชียเลขหมู่ 959.3 ป247 ล.26สถานที่พิมพ์ พระนครสำนักพิมพ์ โรงพิมพ์คุรุสภาปีที่พิมพ์ 2511ลักษณะวัสดุ 310 หน้า หัวเรื่อง ไทย – ประวัติศาสตร์ พงศาวดารภาษา ไทยบทคัดย่อ/บันทึก เนื้อหาภายในประกอบด้วย ประชุมพงศาวดาร เล่ม 26 (ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 44) : จดหมายเหตุคณะพ่อค้าฝรั่งเศสในแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 45 อธิบายเรื่องราชทูตไทยไปยุโรป ตอนที่ 1 แต่งราชทูตออกจากกรุงเทพ ฯ จนถึงสิงคโปร์ , ตอนที่ 2 ราชทูตออกสิงคโปร์ ไปถึงเมืองไคโร , ตอนที่ 3 ราชทูตออกจากไคโรไปถึงเมืองไวโค, เมืองปอร์ตสมัทในอิงแลนด์ , ตอนที่ 4 ราชทูตไปจากเมืองปอร์ตสมัทถึงเมืองลอนดอนดูการเล่น ต่าง ๆ, ตอนที่ 5 ราชทูตนำพระราชสาสน์ขึ้นเฝ้าควีน
จากการสำรวจทางโบราณคดีของทีมนักโบราณคดีไทย-ฝรั่งเศส นำโดย Dr. Bérénice Bellina จาก Centre National de la Recherche Scientifique และ อาจารย์ประอร ศิลาพันธุ์ จากคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่แหล่งโบราณคดีภูเขาทอง ต.กำพวน อ.สุขสำราญ จ.ระนอง เมื่อปีพ.ศ. ๒๕๔๙
ได้พบเศษภาชนะดินเผาที่มีตัวอักษรทมิฬ-พราหมี และอักษรพราหมีชิ้นที่ 1 มีตัวอักษร 3 ตัวอ่านได้ว่า “Tu Ra O” สันนิษฐานว่าเป็นส่วนหนึ่งของคำว่า “Turavon” ซึ่งหมายถึง “พระ”ชิ้นที่ 2 มีตัวอักษร 2 ตัวอ่านได้ว่า “pu aa” ซึ่งเป็นคำที่ไม่มีความหมายเศษภาชนะดินเผาทั้ง 2 ชิ้นได้รับการแปลและวิเคราะห์โดย Iravatham Mahadevan ผู้เชี่ยวชาญภาษาโบราณ ชาวอินเดีย การเขียนตัวอักษรลงบนภาชนะดินเผาจะพบมากที่เมือง Arikamedu ประเทศอินเดีย แสดงให้เห็นถึงการติดต่อ และการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้ามาในพื้นที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 7 - 9
สาระสังเขป : ประวัติของพระยาจินดารักษ์ (จำลอง สวัสดิ์-ชูโต) ตั้งแต่เกิด เข้ารับการศึกษาและรับราชการ ชีวิตครอบครัวจนถึงแก่กรรมผู้แต่ง : -โรงพิมพ์ : สรยุทธการพิมพ์ปีที่พิมพ์ : 2509ภาษา : ไทยรูปแบบ : PDFเลขทะเบียน : น. 31 บ. 12617เลขหมู่ : 942 ท 539 จ
แว วัสดุ : ดินเผา ขนาด : เส้นผ่าศูนย์กลาง 3 เซนติเมตร สูง 1.2 เซนติเมตร สมัย : ก่อนประวัติศาสตร์ ลักษณะวัตถุ : แวดินเผาทรงกลมแบน มีรูตรงกลาง ด้านหนึ่งเรียบ อีกด้านหนึ่งโค้งมน แว เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการปั่นฝ้ายเพื่อให้เป็นเส้นด้าย แวที่พบจากแหล่งโบราณคดีส่วนใหญ่ทำมา จากดินเผา มีลักษณะครึ่งวงกลมหรือทรงคล้ายกรวยตัดหรือรูปลูกคิด เจาะรูตรงกลาง แว เป็นอุปกรณ์สำคัญในการปั่นด้าย โดยจะใช้เป็นตัวถ่วงน้ำหนักเส้นใย เพราะแวจะมีรูตรงกลางสำหรับเสียบแกน ปลายอีกด้านของแกนจะพันเข้ากับเส้นใย เมื่อปั่นแกนให้เกิดแรงเหวี่ยงหมุนรอบตัว แรงเหวี่ยงกับน้ำหนักถ่วงของแกนจะทำให้เส้นใยบิดเป็นเกลียวสม่ำเสมอกลายเป็นเส้นด้าย แวดินเผาเป็นโบราณวัตถุที่พบในแหล่งโบราณคดีสมัยก่อนและกึ่งก่อนประวัติศาสตร์ เช่น แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง จังหวัดอุดรธานี, แหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาว จังหวัดลพบุรี, แหล่งโบราณคดีบ้ายชัยบาดาล จังหวัดลพบุรีและแหล่งโบราณคดีเขาสามแก้ว จังหวัดชุมพร เป็นต้น สำหรับที่แหล่งโบราณคดีเขาสามแก้ว จังหวัดชุมพร มีอายุในราวพุทธศตวรรษที่ 5-10 หรือเมื่อประมาณ 1,500-2,000 ปีมาแล้ว เขาสามแก้วเป็นแหล่งโบราณคดีที่มีลักษณะเป็นเมืองท่าค้าขายในอดีต ซึ่งพบหลักฐานการติดต่อกับต่างแดนทั้งจากฝั่งตะวันตกและตะวันออก คือ อินเดีย เวียดนาม และจีนตอนใต้นอกจากนี้ยังพบหลักฐานที่แสดงถึงการผลิตลูกปัดหินและแก้ว และพบแวดินเผา ซึ่งแสดงให้เห็นว่าคนในชุมชนโบราณเขาสามแก้วสามารถผลิตเสื้อผ้าใช้ได้เองภายในชุมชนแล้ว ซึ่งวิธีการผลิตนั้นอาจจะมาจากความคิดของคนในชุมชนเอง หรืออาจจะมาจากการติดต่อและรับเอาวิธีการผลิตเสื้อผ้ามาจากต่างแดนก็เป็นได้ แหล่งที่พบ : แหล่งโบราณคดีเขาสามแก้ว ตำบลนาชะอัง อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร ปัจจุบัน จัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ชุมพร ที่มาข้อมูล ระบบทะเบียนโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ชุมพร