ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 41,566 รายการ
ชื่อเรื่อง สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม (สงฺคิณี-มหาปฏฺฐาน) อย.บ. 29/4ประเภทวัสดุ/มีเดีย คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่ พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ 56 หน้า : กว้าง 4.5 ซม. ยาว 53.7 ซม.หัวเรื่อง พุทธศาสนาบทคัดย่อ/บันทึก เป็นคัมภีร์ใบลาน เส้นจาร ฉบับทองทึบ ได้รับบริจาคมาจาก จ.พระนครศรีอยุธยา
ชื่อเรื่อง สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม (สงฺคิณี-มหาปฏฺฐาน) อย.บ. 30/2ประเภทวัดุ/มีเดีย คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่ พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ 28 หน้า : กว้าง 4.5 ซม. ยาว 54.5 ซม.หัวเรื่อง พุทธศาสนาบทคัดย่อ/บันทึก เป็นคัมภีร์ใบลาน เส้นจาร ฉบับทองทึบ ไม้ประกับธรรมดา ได้รับบริจาคมาจาก จ.พระนครศรีอยุธยา
สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม (สงฺคิณี-มหาปฎฺฐาน) ชบ.บ 138/2 เอกสารโบราณ (คัมภีร์ใบลาน)
สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม (สงฺคิณี-มหาปฎฺฐาน) ชบ.บ 173/3 เอกสารโบราณ(คัมภีร์ใบลาน)
ชื่อเรื่อง : เสด็จประพาสต้นในรัชกาลที่ 5 พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ ขุนจิตรการโกศล (จิตร ขุนนาค) ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริยาราม วันที่ 8 สิงหาคม พุทธศักราช 2511ชื่อผู้แต่ง : จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ, 2396-2453 ปีที่พิมพ์ : 2511 สถานที่พิมพ์ : พระนครสำนักพิมพ์ : โรงพิมพ์เลี่ยงเซียงจงเจริญ จำนวนหน้า : 110 หน้า สาระสังเขป : หนังสือเล่มนี้จัดพิมพ์ขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ ขุนจิตรการโกศล (จิตร ขุนนาค) ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริยาราม วันที่ 8 สิงหาคม พุทธศักราช 2511 เนื้อหาภายในประกอบด้วย การเสด็จประพาสหัวเมืองน้อยใหญ่ของพระบาทสมเด็จฯพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อสำราญพราะราชอิริยาบถ ไม่โปรดฯให้จัดรับเสด็จเป็นทางการ โดยเรียกว่า “เสด็จประพาสต้น” เช่น เสด็จเรือจากบางปะอินประทับแรมสีกุก เสด็จจากนครสวรรค์ ประพาสบ้านนายพันแล้วไปพักแรมตำบลยางเอน เป็นต้น
ชื่อเรื่อง สพ.ส.37 ตำรายาแผนโบราณประเภทวัสดุ/มีเดีย สมุดไทยขาวISBN/ISSN -หมวดหมู่ ตำรายาแผนโบราณลักษณะวัสดุ 154; หน้า : ไม่มีภาพประกอบหัวเรื่อง ตำรายาแผนโบราณ ภาษา ไทยบทคัดย่อ/บันทึก ประวัติวัดประสพสุข ต.ทับตีเหล็ก อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี มอบให้หอสมุดฯ วันที่ 9 ส.ค.2538
ชื่อเรื่อง สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม (สงฺคิณี-มหาปฏฺฐาน) อย.บ. 11/3ประเภทวัดุ/มีเดีย คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่ พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ 34 หน้า : กว้าง 4.5 ซม. ยาว 53 ซม.หัวเรื่อง พุทธศาสนาบทคัดย่อ/บันทึก เป็นคัมภีร์ใบลาน เส้นจาร ฉบับทองทึบ ไม้ประกับธรรมดา ได้รับบริจาคมาจาก จ.พระนครศรีอยุธยา
สำนักหอสมุดแห่งชาติ ขอเชิญร่วมรับชมการถ่ายทอดสดพิธีแถลงข่าวส่งมอบผลงานการอนุรักษ์เอกสารโบราณวัดเบญจมบพิตร ตามโครงการความร่วมมือระหว่างวัดเบญจมบพิตร กับ กรมศิลปากร เพื่อเผยแพร่ผลงานการอนุรักษ์เอกสารโบราณวัดเบญจมบพิตร โดยนายพนมบุตร จันทรโชติ อธิบดีกรมศิลปากร เป็นประธานในพิธี ในวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๖ เวลา ๐๙.๐๐ น. ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร
ผู้สนใจสามารถรับชมการถ่ายทอดสดผ่านทาง Facebook live : National Library of Thailand
เลขทะเบียน : นพ.บ.503/9ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 52 หน้า ; 4 x 56 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดาชื่อชุด : มัดที่ 167 (205-215) ผูก 9 (2566)หัวเรื่อง : รามชาตก--เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
ชื่อเรื่อง ถนนคนเดินประตูสาร
ผู้แต่ง สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดสุพรรณบุรี
ผู้แต่งเพิ่มเติม ทัศนีย์ เทพไชย, เรียบเรียง.
ประเภทวัสดุ/มีเดีย หนังสือท้องถิ่น
ISBN/ISSN 978-616-543-450-8
หมวดหมู่ ประวัติศาสตร์
เลขหมู่ 959.373 ส829ถ
สถานที่พิมพ์ นครปฐม
สำนักพิมพ์ บริษัท เพชรเกษมพริ้นติ้ง กรุ๊ป จำกัด
ปีที่พิมพ์ 2560
ลักษณะวัสดุ 108 หน้า : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
หัวเรื่อง สุพรรณบุรี – ประวัติศาสตร์
ภาษา ไทย
บทคัดย่อ/บันทึก หนังสือ “ถนนคนเดินประตูสาร” สะท้อนประวัติศาสตร์และวิถีชีวิตของชุมชนในอดีตของเมืองสุพรรณบุรีและย่านวัดประตูสาร ได้นำมาต่อยอดเป็นถนนคนเดินที่มีชีวิตชีวา และความภาคภูมิใจในมรดกทางศิลปวัฒนธรรมที่บรรพบุรุษได้สร้างไว้
ชื่อเรื่อง สพ.บ.424/3 พระเจ้าห้าสิบชาติ (ห้าสิบชาติ)
สพ.บ. 424/3
ประเภทวัดุ/มีเดีย คัมภีร์ใบลาน
หมวดหมู่ พุทธศาสนา
ลักษณะวัสดุ 52 หน้า : กว้าง 5 ซม. ยาว 57 ซม.
หัวเรื่อง พุทธศาสนา
เทศน์มหาชาติ
บทคัดย่อ/บันทึก
เป็นคัมภีร์ใบลาน ฉบับล่องชาต ได้รับบริจาคมาจากวัดลานคา ต.โคกคราม อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี
ขอเชิญชมนิทรรศการพิเศษ “พระพุทธรูปสำคัญในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ” แสดงพัฒนาการของพระพุทธรูปในประเทศไทย
เนื่องในโอกาสสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ทรงเจริญ พระชนมายุครบ ๘ รอบ ๙๖ พรรษา นับเป็นมหามงคลสมัยยิ่ง กรมศิลปากรจึงได้จัดนิทรรศการพิเศษ เรื่อง “พระพุทธรูปสำคัญในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ” ขึ้น ณ พระที่นั่งศิวโมกขพิมาน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร จัดแสดงเรื่องราวของคตินิยมในการสร้างรูปแทนพระพุทธเจ้าเพื่อสักการบูชา การออกแบบท่าทางหรือการแสดงปางอันมีความหมายทางประติมานวิทยา โดยแบ่งเป็นหัวข้อดังนี้ ๑. ตำนานการสร้างพระพุทธรูป ๒. กำเนิดพระพุทธรูป ๓. ท่วงท่า ภาษากาย และความหมายของพระพุทธรูป ๔. “มุทรา” ภาษามือ สื่อธรรม ๕. ตำนานพระพุทธสิหิงค์ ๖. เหนือกว่ามนุษย์คือบุรุษผู้ยิ่งใหญ่ มหาบุรุษลักษณะ๗. บอกเล่าเหตุการณ์ผ่าน “ปาง” ๘. ลักษณะการครองผ้าของพระพุทธรูปในสยามนิกาย
และได้คัดเลือกพระพุทธรูป จำนวน ๘๑ องค์ ซึ่งเป็นพระพุทธรูปโบราณที่มีพุทธศิลป์งดงามเป็นพิเศษในแต่ละสกุลช่าง มีความโดดเด่น สะท้อนถึงคติความเชื่อทางศาสนาและสุนทรียภาพความงามที่แตกต่างกันไปในแต่ละสมัยมาจัดแสดงเพื่อให้เห็นพัฒนาการของพระพุทธรูปในประเทศไทย ได้แก่ พระพุทธรูปรุ่นเก่า หมายถึงพระพุทธรูปรุ่นแรกที่พบในดินแดนประเทศไทย ซึ่งเข้ามาพร้อม ๆ กับการติดต่อค้าขายกับโลกภายนอก ประมาณ ๘๐๐ – ๑,๗๐๐ ปีมาแล้ว
พระพุทธรูปศิลปะทวารวดีพระพุทธรูปศิลปะศรีวิชัย
พระพุทธรูปศิลปะลพบุรี พระพุทธรูปศิลปะล้านนา
พระพุทธรูปศิลปะล้านช้าง พระพุทธรูปศิลปะสุโขทัย
พระพุทธรูปศิลปะอยุธยา
และพระพุทธรูปศิลปะรัตนโกสินทร์
โดยเป็นพระพุทธรูปสำคัญที่จัดแสดงและเก็บรักษาอยู่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ทั่วประเทศ อาทิ
หลวงพ่อเพชร วัดพระบรมธาตุวรวิหาร จังหวัดชัยนาท ศิลปะสุโขทัย จากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ชัยนาทมุนี
พระพุทธรูปปางลีลา ศิลปะสุโขทัย จากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สวรรควรนายก จังหวัดสุโขทัย
พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะล้านนา จากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน จังหวัดเชียงราย
พระพุทธรูปปางบำเพ็ญทุกรกิริยา และพระเจ้าเข้านิพพาน ศิลปะรัตนโกสินทร์ จากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี
กรมศิลปากรขอเชิญเข้าชมนิทรรศการพิเศษ เรื่อง "พระพุทธรูปสำคัญในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ" ระหว่างวันที่ ๙ มิถุนายน – ๑๐ กันยายน ๒๕๖๖ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. ณ พระที่นั่งศิวโมกขพิมาน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร วันพุธ – วันอาทิตย์ (ปิดวันจันทร์ – วันอังคาร)