ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 40,814 รายการ
เรื่อง เสด็จประพาสต้นทั้งสองคราวนี้ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้ทรงนิพนธ์คำอธิบายไว้เมื่อพิพ์ครั้งก่อน มีความว่า "พระบาทสมเด็จฯ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชอัธยาศัย โปรดฯ ในการเสด็จประพาสตั้งแต่เสด็เถลิงถวัลยราชสมบัติมา เสด็จประพาสแทบทุกปี เสด็จไปตามหัวเมืองน้อยใหญ่ในพระราชอาณาเขตบ้าง เสด็จไปถึงต่างประเทศบ้าง "
สาระสังเขป : ประวัติของหลวงสุขุมนัยประดิษฐ (ประดิษฐ สุขุม) อดีตอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ พ.ศ.2488-2489ผู้แต่ง : สุขุมนัยประดิษฐ, หลวง (ประดิษฐ์ สุขุม)โรงพิมพ์ : กองการพิมพ์สลากกินแบ่งรัฐบาลปีที่พิมพ์ : 2510ภาษา : ไทยรูปแบบ : PDFเลขทะเบียน : น.32บ.2036จบเลขหมู่ : 923.2593 ล744สบ
เลขทะเบียน : นพ.บ.18/1ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 44 หน้า ; 5 x 55 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 10 (105-113) ผูก 5หัวเรื่อง : กจฺจายน สารฎีกา --เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
ชื่อผู้แต่ง : -ชื่อหนังสือ : ราชกิจจานุเบกษาในรัชกาลที่๔ครั้งที่พิมพ์ : พิมพ์ครั้งที่ -สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯสำนักพิมพ์ : บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชซิ่ง จำกัด (มหาชน)ปีที่พิมพ์ : ๒๕๓๙ ราชกิจจานุเบกษาในรัชกาลที่๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้เจ้าพนักงานพิมพ์ พิมพ์ขึ้นในปีมะเมีย สัมฤทธิศก ๑๒๒๐ และปีมะแมเอกศก ๑๒๒๑ ต่อกัน2ปี เป็นหนังสือหลายร้อยฉบับ สำหรับพระราชทานพระบรมวงศานุวงศ์ และข้าทูลละอองธุลีพระบาท ได้ทราบข้อราชการต่างๆ
ชื่อผู้แต่ง : จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว , พระบาทสมเด็จพระชื่อเรื่อง : จดหมายเหตุพระราชกิจรายวันครั้งที่พิมพ์ : พิมพ์ครั้งที่สองสถานที่พิมพ์ : พระนครสำนักพิมพ์ : ร.พ.เลี่ยงเซียงจงเจริญปีที่พิมพ์ : ๒๕๑๐จำนวนหน้า : ๑๒๒ หน้าหมายเหตุ : พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพ นายบันลือ รักวานิช ณ เมรุวัดมกุฎกษัตริยาราม วันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๑๐ หนังสือ จดหมายเหตุพระราชกิจรายวัน พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ภาคที่ ๒๓ ที่ว่า “ต้องเป็นพระราชนิพนธ์” ก็เพราะปรากฏในภาคต้น ๆ ได้ทรงไว้เป็นคำสามัญ ไม่มีราชาศัพท์เลยจนถึงหน้า ๑๙ ในภาคที่ ๕ ต่อแต่นี้ไป เข้าใจว่ารับสั่งให้ผู้อื่นจด จึงใช้ราชาศัพท์ ผู้ได้รับประโยชน์อันยิ่งใหญ่จากหนังสือเล่มนี้มี ๒ จำพวก คือ ๑.นักประวัติศาสตร์ ๒. นักศึกษาทางการเมือง
สุภัตรา ภูมิประภาส. “สี่กษัตริย์ปตานี : บัลลังก์เลือด และตำนานรักเพื่อแผ่นดิน”.ศิลปวัฒนธรรม(28):4;มีนาคม 2550
สุลต่านมันซูร์ ซาฮ์(๔)(Manzur Syah)เจ้าผู้ครองนครปตานีพระราชทานนามให้พระธิดาทั้ง ๓ พระองค์ตามสีสวยของสายรุ้ง”ฮิเจา”หมายถึงสีเขียวอบอุ่น “บีรู”คือสีฟ้าสวยใสและ”อุงงู” คือสีม่วงละมุนพระนามที่สุลต่านประทานแก่พระธิดาทั้งสามเป็นนิมิตหมายรุ่งเรืองแห่งชีวิตภายหน้าของสามขัตติยนารีแม้สุลต่านมิอาจทรงพระชนม์ชีพยืนยาวที่จะเห็นนครปตานีที่รุ่งโรจน์ราวสายรุ้งสลับสายภายใต้การปกครองของพระราชธิดาทั้งสามของพระองค์แต่พระนามแห่งสายรุ้งที่สุลต่านรังสรรค์ประทานไว้แก่พระธิดานั้นเป็นนิรมิตที่ประจักษ์แจ้งแก่ชีวิตผู้คนบนอ่าวปตานี และกลายเป็นตำนานเล่าขานสืบมาเหนือกูโบร์แห่งราชา
พระครูสมุห์ดำ. ประวัติพระครูเหมเจติยานุรักษ์. พระนคร : โรงพิมพ์มิตรบำรุง, 2479. เป็นประวัติของพระครูเหมเจติยานุรักษ์ วัดท่ามอญ รองเจ้าคณะจังหวัดนครศรีธรรมราช มีนามเดิมว่า ห้องกิ้ม มีฉายาว่า วุฑฺฒิงฺกโร มีภูมิลำเนาเดิมอยู่ที่บ้านท่าวัง ตำบลท่าวัง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
***บรรณานุกรม***
ผดุงถิ่นยุคข่าวเศรษฐกิจ
ปีที่ 16(7)
ฉบับที่ 664(258)
วันที่ 16-31 ตุลาคม 2534
ดำรงราชานุภาพ, พระเจ้าบรมวงศเธอ กรมพระ. ตำนานพระปริต. พระนคร: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, 2472. ราชบัณฑิตยสภา พิมพ์ถวายพระภิกษุสามเณร เป็นของชำร่วย เมื่อครั้งมาเยี่ยมหอพระสมุดฯ และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร พ.ศ. 2472 ตำนานพระปริต เล่มนี้ ทรงอธิบายตั้งแต่มูลเหตุที่จะเกิดมีราชปริต ลักษณะการสวดพระปริต ซึ่งได้หลักฐานจากที่ต่างๆ การสวดพระปริต มีความเชื่อว่าเป็นการสวดเพื่อจะคุ้มครองป้องกันภยันตราย294.313ด495ต
ความสัมพันธ์ระหว่างเวียงกุมกามซึ่งเป็นแหล่งอารยธรรมที่สำคัญของล้านนากับความเป็นอยู่ของชุมชนในปัจจุบัน •
...#วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนในชุมชนเวียงกุมกาม
หลังจาก พ.ศ.๒๓๑๗ เป็นต้นมา แม่น้ำปิงได้เปลี่ยนร่องน้ำมาไหลในแนวปัจจุบัน ทำให้แม่น้ำปิงไม่ไหลผ่านเวียงกุมกาม เวียงกุมกามจึงหมดความสำคัญลง เพราะการเจริญเติบโตของชุมชนในอดีตจะขี้นอยู่กับเส้นทางคมนาคม โดยเฉพาะทางน้ำเป็นสำคัญ ในขณะที่ชุมชนเวียงกุมกามได้ลดความสำคัญลง ชุมชนท่าวังตาลซึ่งอยู่ริมแม่น้ำปิงกลับมีความสำคัญขึ้นมาแทนที่เวียงกุมกาม และมีฐานะเป็นท่าน้ำลึก การเดินทางไปมาระหว่างเชียงใหม่ - กรุงเทพฯ จะต้องมาขึ้น - ลงเรือที่ท่าวังตาล ชุมชนท่าวังตาลจึงขยายตัวเป็นชุมชนใหญ่ เกิดการขยายตัวของการตั้งถิ่นฐานที่อยู่ตามแนวริมน้ำปิงเก่า เรียกว่า "ปิงห่าง" โดยขยายชุมชนจากวัดกู่คำ (วัดเจดีย์เหลี่ยม) บริเวณท่าวังตาลผ่านวัดศรีบุญเรือง ผ่านเข้าเวียงกุมกามไปจรดถนนสายเชียงใหม่ - ลำพูน (สายเก่า)
เวียงกุมกามนั้นเริ่มเป็นชุมชนอีกครั้งหนึ่งในสมัยรัชกาลที่ ๕ แต่เป็นเพียงชุมชนเล็กๆที่ไม่ขยายตัวเป็นศูนย์กลางความเจริญได้อีก เพราะเส้นทางคมนาคมที่สำคัญได้เปลี่ยนไปจากการใช้การคมนาคมทางน้ำ ก็มีการคมนาคมทางบก มีถนนมาแทน การย้ายเข้ามาอยู่อาศัยภายในเวียงกุมกามของประชาชนจึงมีน้อย แต่อย่างไรก็ตามชุมชนเดิมที่อยู่กันได้หันมาบูรณะซ่อมแซมวัดกานโถม ให้เป็นศูนย์กลางความเจริญของหมู่บ้านภายใต้การตั้งชื่อใหม่ว่า "วัดช้างค้ำ" ต่อมาหมู่บ้านแห่งนี้จึงได้ชื่อว่า "บ้านช้างค้ำ" ประชาชนที่อยู่อาศัยในเวียงกุมกามเป็นคนเมือง ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนาทำสวน อยู่กันอย่างสงบสุขเป็นสังคมหมู่บ้านเล็กๆ
วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนในชุมชนเวียงกุมกามในปัจจุบันได้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบต่างไปจากเดิม จากสังคมชนบทที่เป็นสังคมเกษตรกรรมที่อยู่กันอย่างเรียบง่ายมาเป็นสังคมเมืองที่มีความเจริญ และทันสมัยเข้ามาแทนที่ โดยเฉพาะบริเวณที่อยู่ใกล้ตัวเมืองหรือบริเวณริมถนนสายสำคัญ เนื่องจากได้รับอิทธิพลขยายตัวของความเจริญของตัวเมืองเชียงใหม่ซึ่งเป็นสังคมเมืองอย่างเต็มรูปแบบนั่นเอง แต่ก็ยังคงมีประชาชน ส่วนที่ยังคงอนุรักษ์วิถีชีวิตแบบดั้งเดิมอยู่ คือการทำเกษตรกรรม ทำนา ทำสวนลำไย และมีวิถีชีวิตที่เรียบง่ายซึ่งจะพบได้ในบริเวณรอบในที่ไกลจากตัวเมืองหรือบริเวณพื้นที่ที่ไม่ติดกับถนนสายสำคัญ
อ้างอิง : เวียงกุมกาม แหล่งอารยธรรมและมรดกของล้านนา
ที่มารูปภาพ : Slow life Chiangmai ชุมชนคนสายชิล