ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 40,776 รายการ
องค์ความรู้ทางวิชาการ
เรื่อง "เมืองเพีย" พัฒนาการทางโบราณคดีจากหลักฐานที่พบ
โดย นางสาวทิพย์วรรณ วงศ์อัสสไพบูลย์
นักโบราณคดีชำนาญการ
สำนักศิลปากรที่ ๘ ขอนแก่น
วันพฤหัสบดีที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๖๔ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เข้าเยี่ยมชมโบราณสถานปราสาทพนมรุ้ง และชมการแสดงวงดนตรีสากลซิมโฟนีออร์เคสตร้า ในโครงการขยายผลต่อยอดนวัตกรรมเพลงพื้นบ้านเพื่อเผยแพร่ให้เป็นมรดกของชาติ ซึ่งอำนวยการแสดงโดย รศ.ดร.สุกรี เจริญสุข ในการนี้ นายทศพร ศรีสมาน ผู้อำนวยการสำนักศิลปากรที่ ๑๐ นครราชสีมา นายภาณุวัฒน์ เอื้อสามาลย์ หัวหน้าอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง และหัวหน้าหน่วยงานในสังกัด ร่วมให้การต้อนรับ ณ อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์
ชื่อเรื่อง เทศนาสังคิณี
สพ.บ. 244/1ประเภทวัสดุมีเดีย คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่ พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ 74 หน้า กว้าง 5 ซ.ม. ยาว 57 ซ.ม. หัวเรื่อง พุทธศาสนา ชาดก เทศน์มหาชาติ คาถาพัน
บทคัดย่อ/บันทึก
เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรธรรมอีสาน ภาษาบาลี-ไทยอีสาน เส้นจาร ฉบับล่องรัก ได้รับบริจาคมาจากวัดทุ่งอุทุมพร ต.บางปลาม้า อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี
ชื่อเรื่อง ชัยยะ (ชัยยะ)
สพ.บ. 373/1ประเภทวัสดุมีเดีย คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่ พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ 20 หน้า กว้าง 5.5 ซม. ยาว 57 ซม.หัวเรื่อง ธรรมเทศนา
บทคัดย่อ/บันทึก เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรธรรมอีสาน ภาษาบาลี-ไทยอีสาน เส้นจาร ฉบับลานดิบ ได้รับบริจาคมาจากวัดลานคา ต.โคกคราม อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี
เลขทะเบียน : นพ.บ.155/5ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 48 หน้า ; 4.5 x 53 ซ.ม. : ล่องชาด ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 93 (1-16) ผูก 5 (2565)หัวเรื่อง : คันถาภรณะ--เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
สตฺตปฺปกรณาภิธมฺมเทศนา (สังคิณี-มหาปัฎฐาน)
ชบ.บ.37/1-4
เอกสารโบราณ (คัมภีร์ใบลาน)
ปฐมสิกฺขาปท (ปถมสิกฺขาปท)
ชบ.บ.98/1-2
เอกสารโบราณ (คัมภีร์ใบลาน)
เลขทะเบียน : นพ.บ.313/2ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 78 หน้า ; 5 x 56.5 ซ.ม. : ทองทึบ-ล่องชาด ; ไม่มีไม้ประกับชื่อชุด : มัดที่ 128 (317-320) ผูก 2 (2565)หัวเรื่อง : สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม(สงฺคิณี - กถาวตฺถุ)--เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
ชื่อเรื่อง : นิราศพระปฐม
ชื่อผู้แต่ง : จักรปาณี (ฤกษ์), หลวง
ปีที่พิมพ์ : 2513
สถานที่พิมพ์ : พระนคร
สำนักพิมพ์ : โรงพิมพ์คุรุสภาพระสุเมรุ
จำนวนหน้า : 56 หน้า
สาระสังเขป : หลวงจักรปาณี (มหาฤกษ์) แต่งนิราศพระปฐมขึ้นเมื่อเดินทางไปนมัสการพระปฐมเจดีย์ทางเรือ โดยเริ่มออกเดินทางผ่านหน้าวัดสุทัศน์เทพวราราม ท่านนึกถึงเมื่อครั้งบวชเณรเพื่อศึกษาพระปริยัติธรรมกับสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ(อู่) และจำพรรษาอยู่ที่วัดนี้ตลอดมาจนสิ้นรัชกาลที่ 3 จึงลาสิกขา เมื่อผ่านวัดราชบพิธ ได้อธิษฐานขอให้บุญอานิสงส์ที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างวัดนี้ ส่งให้ทรงเจริญด้วยพระเกียรติยศ จากนั้นผ่านวังหน้าออกทางคลองหลอด ผ่านที่ต่าง ๆ จนถึงเมืองนครปฐม ได้จอดเรือที่ท่าหน้ากงสีของขุนพัฒน์ แล้วไปนมัสการพระปฐมเจดีย์ เมื่อนมัสการพระปฐมเจดีย์แล้วจึงไปเยี่ยมพระยาสุธรรมไมตรี
การสำรวจเพื่อการออกแบบบูรณะโบราณสถานประเภทหิน และโบราณสถานประเภทอาคารอุโบสถ(สิม)
วันที่ ๘ เมษายน ๒๕๖๕ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติฯ ตรัง ได้มาจัดกิจกรรมรณรงค์ดูแลรักษามรดกศิลปวัฒนธรรมของชาติ เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย พุทธศักราช ๒๕๖๕ ณ โบราณสถานวัดจอมไตร จึงขอนำเสนอองค์ความรู้เรื่อง "โบราณสถานวัดจอมไตร"
๑. ที่ตั้ง
หมู่ที่ ๗ บ้านกระเจาะ ถนนเพชรเกษม ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
๒. การขึ้นทะเบียนโบราณสถาน
กรมศิลปากรขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน ตามประกาศวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๔๑
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๖ ตอนพิเศษที่ ๑๗ ง หน้า ๓ วันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๔๒
๓. ประวัติและความสำคัญ
วัดจอมไตร เดิมชาวบ้านเรียกว่า “วัดเจาะ” หรือ วัดกระเจาะ” ตามชื่อบ้านซึ่งเป็นชุมชนเก่าของตรัง สร้างเมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๓๙๓ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น “วัดจอมไตร” เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๘๔ และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๔๘๕
อุโบสถขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๕ โดยสถาปัตยกรรมฝีมือช่างท้องถิ่น อุโบสถเป็นอาคารทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้าบนฐานเตี้ย ตามลักษณะอุโบสถแบบภาคใต้ โครงสร้างอาคารเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก หลังคาซ้อนชั้นกัน ๓ ชั้น เครื่องบนเป็นไม้ทั้งหมด ตัวอาคารไม่มีการตกแต่งมากนัก
ส่วนภายในอุโบสถเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปชื่อ “พระพุทธจอมไตร” เป็นพระประธาน สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๘ เป็นพระพุทธรูปที่ทำพิธีหล่อด้วยโลหะองค์แรกของจังหวัดตรัง
ต่อมาในภายหลังตัวอุโบสถทรุดโทรมไปมากแล้ว กรมศิลปากรจึงได้ทำการบูรณะโดยรักษารูปแบบเดิมไว้ทุกประการ และดำเนินการแล้วเสร็จใน พ.ศ. ๒๕๕๕
บรรณานุกรม
ภานุวัฒน์ เอื้อสามาลย์. ๒๔๗ โบราณสถานภาคใต้ที่ขึ้นทะเบียนแล้วและข้อมูลหลักฐานใหม่
ทางโบราณคดี. นครศรีธรรมราช: สำนักศิลปากรที่ ๑๒ นครศรีธรรมราช, ๒๕๖๑.
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). วัดจอมไตร : ฐานข้อมูลแหล่งโบราณคดีที่สำคัญใน
ประเทศไทย. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๑ เมษายน ๒๕๖๕,
https://db.sac.or.th/archaeology/archaeology/809
หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติฯ ตรัง. อุโบสถวัดจอมไตร. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๑ เมษายน ๒๕๖๕, https://www.andamannlttrang.com/
เนื่องในโอกาสวันสงกรานต์ หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เชียงใหม่ ขอประมวลภาพบรรยากาศประเพณีสงกรานต์ของจังหวัดเชียงใหม่ เช่น พิธีรดน้ำดำหัว ขบวนแห่สรงน้ำพระ การเล่นน้ำสงกรานต์ ขนทรายเข้าวัด ปักตุง ก่อกองทราย ถวายไม้ค้ำต้นโพธิ์ เป็นต้น เพื่อร่วมสืบทอดประเพณีสำคัญและสืบสานวัฒนธรรมอันดีงามของไทยภาพ :๑. หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เชียงใหม่.๒. หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ เชียงใหม่. ภาพส่วนบุคคล ชุด นายบุญเสริม สาตราภัย.๓. บุญเสริม สาตราภัย. ๒๕๕๔. เชียงใหม่ในความทรงจำ. เชียงใหม่: Sansilp Printing.
เรื่อง "ปัญจรูป"การผลิตสื่อเพื่อสื่อความหมายทางวัฒนธรรมครั้งที่ ๑จัดทำโดย นางสาวธิติพร สายฝั้นนิสิตฝึกงาน ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา