ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 40,765 รายการ
หมวดหมู่ พุทธศาสนาภาษา บาลี/ไทยอีสานหัวเรื่อง จันทรุปราคาประเภทวัสดุ/มีเดีย คัมภีร์ใบลานลักษณะวัสดุ 26 หน้า : กว้าง 5 ซม. ยาว 58 ซม. บทคัดย่อ
เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอม เส้นจาร ฉบับชาดทึบ ได้รับบริจาคมาจากพระอธิการเด่น ปญฺญาทีโป วัดคิรีรัตนาราม ต.ดอนคา อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี ดำเนินการอนุรักษ์เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2534
สาระสังเขป : ให้สาระความรู้พื้นฐานของร่างกายมนุษย์ การตรวจร่างกายก่อนการนวด เทคนิคการนวด ลำดับขั้นตอนการฝึกปฏิบัติการนวด ิ การนวดกแก้ปวดศีรษะ การนวดแก้ปวดเมื่อยคอ เมื่อยไหล่ การนวดแก้ปวดเมื่อยแขนเมื่อยข การนวดกแก้ปวดสบักจม ข้อเท้าแพลงและการนวดแก้คอตกหมอน ผู้แต่ง : องค์การบริหารส่วนจังหวัดจันทบุรี โรงพิมพ์ : - ปีที่พิมพ์ : ม.ป.ป. ภาษา : ไทย รูปแบบ : PDF เลขทะเบียน : น.49บ.60110 จบ(ร) เลขหมู่ : 615.82 อ114ค
เลขทะเบียน : นพ.บ.12/14ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 52 หน้า ; 5.5 x 56 ซ.ม. : รักทึบ-ลานดิบ ; ไม้ประกับธรรมดา มีฉลากชื่อชุด : มัดที่ 8 (83-99) ผูก 14หัวเรื่อง : โลกนยชาตก--เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
เลขทะเบียน : นพ.บ.43/4ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 52 หน้า ; 4.5 x 53.5 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 25 (244-253) ผูก 4หัวเรื่อง : อรรถกถาบาลี --เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
ชื่อผู้แต่ง สุนทรภู่
ชื่อเรื่อง โคลงนิราศสุพรรณ ฉบับสมบูรณ์
ครั้งที่พิมพ์ พิมพ์ครั้งที่ 2
สถานที่พิมพ์ กรุงเทพ ฯ
สำนักพิมพ์ หจก.เกษมการพิมพ์
ปีที่พิมพ์ 2527
จำนวนหน้า 154 หน้า
หมายเหตุ พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พลตรีอำนวย โสมนัส
โคลงนิราศสุพรรณเดิมพบ ๑ เล่มสมุดไทย มี ๒๔๑ บท สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ โปรดให้จัดพิมพ์เล่มนี้ในโอกาสที่มหาเสวกโท พระยาดำรงราชานุภาพ โปรดให้จัดพิมพ์เล่มนี้ในโอกาสที่มหาเสวกโท พระยาสุวรรณศิริ (ทองดีสุวรรณศิริ) ได้รับแต่งตั้งให้เป็นพระยายืนชิงช้า เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๗ ต่อมาเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๔ เจ้าหน้าที่หอสมุดแห่งชาติ พบอีก ๒ เล่ม สมุดไทยคำและเป็นโคลงที่ต่อจากเล่ม ๑ อีก ๒๒๑ บท รวมโคลงเรื่องนี้ทั้งหมด ๔๖๒ บท
วันอังคารที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๙ รองอธิบดีกรมศิลปากร (นายขจร มุกมีค่า) ลงพื้นที่ตรวจราชการในพื้นที่สำนักศิลปากรที่ ๑๒ นครราชสีมา และประชุมติดตามความคืบหน้าการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๙ และติดตามความพร้อมโครงการต่าง ๆที่ได้จัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ณ ห้องประชุมสำนักศิลปากรที่ ๑๒ นครราชสีมา
ชื่อผู้แต่ง ปรีชา,พระยาธรรม
ชื่อเรื่อง ไตรภูมิโลกวินิจฉัย
ครั้งที่พิมพ์ พิมพ์ครั้งที่ ๒
สถานที่พิมพ์ -
สำนักพิมพ์ -
ปีที่พิมพ์ ๒๕๒๑
จำนวนหน้า ๑๑๔ หน้า
หมายเหตุ พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพ นายทองสุก กาญจนพันธ์
หนังสือเรื่องไตรภูมิโลกวินิจฉัยนี้ เดิมต้นฉบับเป็นหนังสือตัวเขียนจารลงในคัมภีร์ใบลาน มีชื่อเรียกหลายชื่อเช่น เตภูมิกถา ไตรภูมิกถาบ้าง ไตรภูมิโลกวินิจฉัยฯแต่นิยมเรียกกันส่วนมากว่าไตรภูมิฉบับหลวง มีเค้าโครงเรื่องอย่างเดียวกันกับไตรภูมิพระร่วง หนังสือนี้แบ่งความสำคัญออกเป็น๔ภาคด้วยกัน คือ ๑.ภาคมนุสสกถา ๒.ภาคนิริยกถา ๓.ภาคเทวดากถา ๔.ภาควิสุทธิกถา
กองบรรณาธิการ.สวนเกษตรเศรษฐกิจพอเพียง.จันท์ยิ้ม(2):5;มิถุนายน-กรกฎาคม 2560.
การทําสวนเกษตรเศรษฐกิจพอเพียงนั้นนอกจากผลผลิตดีดีที่ได้รับแล้ว ยังนํามาซึ่งความร่วมมือร่วมใจของคน ในชุมชนด้วย เช่นที่โครงการศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงตามรอยพ่อ ด้วยศาสตร์พระราชา สู่การพัฒนาคุณภาพชีวิต อย่างยั่งยืน ของหน่วยทหารกองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 1 กองพลนาวิกโยธิน ค่ายตากสิน จ.จันทบุรี เป็นหนึ่ง หน่วยงานในโครงการประกวดผลงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจกองทัพไทย
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงตามรอยพ่อ ด้วยศาสตร์พระราชา ค่ายตากสิน ได้น้อมนําหลักเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ มาปฏิบัติใช้ในชีวิตประจําวัน โดย ใช้พื้นที่รกร้างว่างเปล่ามาทําประโยชน์ ทั้งในด้านการเกษตรและปศุสัตว์
สืบเนื่องจากทางหน่วยบัญชาการนาวิกโยธินกองทัพเรือได้ให้ หน่วยต่าง ๆ ดําเนินการเศรษฐกิจพอเพียงภายในหน่วย เพื่อเป็นการน้อมนํา หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ที่ท่านได้พระราชทานไว้ให้กับปวงชนชาวไทย เป็นหลักในการดําเนินชีวิต ในทางสายกลางให้รู้จักพอมีพอกิน และ พอประมาณ หลังจากนั้นในส่วนของหน่วยซึ่งมีพื้นที่รกร้างว่างเปล่า ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์ จึงได้ร่วมคิดร่วมทํากับส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ทั้งเกษตรจังหวัดและกลุ่มแม่บ้านต่าง ๆ ที่อยู่ในค่ายตากสิน เพื่อมาร่วม ระดมแนวความคิด กลับมาพลิกฟื้นผืนดินที่รกร้างว่างเปล่าเป็นสวนเกษตร ที่สมบูรณ์
โดยการประกวดผลงานเศรษฐกิจพอเพียง กองทัพไทย ชุมชนค่ายตากสิน พัน ร.2 กรม ร.1 พล.นย. จังหวัดจันทบุรี ได้รับรางวัล ประเภท ชุมชนเศษฐกิจพอเพียง รองชนะเลิศอันดับที่ 2 ผลที่ได้รับ จากการดําเนินการ สิ่งหนึ่งที่เห็นคือ ความผูกพันระหว่างชุมชน มีการ ซื้อขายผลิตภัณฑ์ที่หน่วยหรือชุมชนผลิตขึ้นมาเอง เช่น ผักที่ปลอดสารพิษ ปลาดุก และดอกดาวเรือง สามารถจําหน่ายในราคาถูกให้กับชุมชน ได้อีกด้วย
ปัจจุบันในส่วนของศูนย์มีการดําเนินการในระยะเวลาหนึ่ง มีประชาชนบุคคลภายนอกเข้ามาเรียนรู้ฐานต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการประมง การเกษตร และการปลูกผักสวนครัว สามารถเข้ามาเยี่ยมชมได้ตลอด โดยจะมีเจ้าหน้าที่คอยให้คําแนะนํา
นายจารึก วิไลแก้ว ผู้อำนวยการสำนักศิลปากรที่ ๑๒ นครราชสีมา เป็นประธานพิธีเปิดโครงการเครือข่ายพิทักษ์วัตถุทางวัฒนธรรม : กิจกรรม Phimai Night Museum ยลพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพิมายยามค่ำคืน วันพุธที่ ๒๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพิมาย อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา
ปูรณา. นำชมปราสาทหินพิมาย. กรุงเทพฯ: กรุงสยามการพิมพ์, 2516.โบราณวัตถุสถานในบริเวณเมืองพิมาย ได้แก่ ปรางค์ประธาน ปรางค์พรหมทัต ปรางค์หินแดง หอพราหมณ์ บริเวณลานชั้นในองค์ปรางค์ บรรณาลัย สระภายในบริเวณศาสนสถานกำแพงและประตูชั้นนอกของปราสาท ธรรมศาลา เมรุพรหมทัต กำแพงและประตูเมือง ท่านางสระผม และพิพิธภัณฑ์กลางแจ้ง915.9332ป683น