ค้นหา

รายการที่พบทั้งหมด 40,823 รายการ

ดำรงราชานุภาพ, พระเจ้าบรมวงศเธอ กรมพระ. ตำนานเรือรบไทย. พระนคร: โรงพิมพ์บำรุงนุกูลกิจ, 2469.รองอำมาตย์ตรีขุนอักษรเสรฐ (เปล่ง  ชื่นภิรมย์) พิมพ์ในการปลงศพสนองคุณ นางปลีก ชื่นภิรมย์ เมื่อปีขาล พ.ศ. 2469 ว่าด้วยเรือรบสำหรับใช้ในลำน้ำ ครั้งกรุงเก่า ระวางเรือพระที่นั่งในรัชกาลที่ 1  เรือกระบวนแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาชื่อเรือกราบท่านให้คล้องกัน ระวางเรือพระที่นั่งในรัชกาลที่ 2,3,4 และ 5 เรือยนต์สำหรับใช้ทางทะเลเรือรบสำหรับใช้ทางทะเล  ลักษณะเรือรบทางทะเล เรือรบชนิดกำปั่นแปลง เรือรบชนิดเรือกำปั่นฝรั่ง และเรือรบชนิดเรือกลไฟ ประวัติเรือรบไทย ตั้งแต่สมัยโบราณ มี 2 ชนิด คือ เรือรบใช้สำหรับทางน้ำ และเรือรบที่ใช้สำหรับทางทะเล เรือรบที่ใช้สำหรับทางน้ำจะใช้เรือแซ เรือไชย เรือศรีษะสัตว์ และเรือกราบ ตั้งแต่สมัยอยุธยา ต่อมาถูกพม่าเผาหมด พอมาถึงสมัยธนบุรี และสมัยรัตนโกสินทร์ ต้องต่อเรือรบใหม่ทั้งหมด ส่วนเรือรบ ใช้สำหรับทางทะเลนั้นสูญหมด ไม่มีตัวอย่างเหลืออยู่ มีเพียงการต่อเรือรบแบบเรือกำปั่น แปลงอย่างฝรั่งเศสในสมัยรัชกาลที่ 3 ใช้แทนเรือรบทางทะเลอย่างโบราณ ต่อมาจึงมีการต่อเรือปืน เรือใบ และเรือกลไฟ387.25 ด495ตป



พระสถูปศิลาจำลอง   หินทราย ศิลปะสุโขทัย พุทธศตวรรษที่ ๑๙ -๒๐ พระราชประสิทธิคุณ อดีตเจ้าอาวาสวัดราชธานีมอบให้   องค์สถูปต่อกันเป็น ๓ ชั้น ชั้นล่างเป็นฐานสี่เหลี่ยมเจาะทำเป็นซุ้มพระพุทธรูปด้านละ ๔ ซุ้ม ชั้นกลางสลักเป็นรูปทรงกลม ประกอบด้วยซุ้มพระพุทธรูป ๘ ซุ้ม ชั้นบนเป็นสถูปทรงกลมสลักพระพุทธรูป ๘ ซุ้ม ต่อด้วยองค์ระฆัง ปล้องไฉน และปลียอด   ที่มาของข้อมูล : หนังสือนำชมพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง   ข้อมูลนำชมโบราณวัตถุ ศิลปะวัตถุ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ผ่าน QR code จัดทำโดย นางสาวสาธิตา วรรณพิรุณ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ สาขาการท่องเที่ยวและการโรงแรม ชั้นปีที่ ๔ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้านนา ตาก โครงการสหกิจศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๓


         ศิลปะรัตนโกสินทร์ พุทธศตวรรษที่ ๒๔ (๒๐๐ ปีมาแล้ว)          โลหะผสม          กรมพระราชพิธีส่งมาจากพระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน เมื่อวันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๔๗๔          รูปหล่อพระนางสิริมหามายาทรงเหนี่ยวกิ่งต้นสาละด้วยพระหัตถ์ขวา เบื้องหน้ามีพระอินทร์เชิญพานรองรับพระโพธิสัตว์ และพระพรหมเชิญฉัตรกั้นถวายพระโพธิสัตว์ เพื่อแสดงว่าเมื่อประสูติจากพระครรภ์แล้วมิได้ถึงพื้นโดยทันที แต่มีเทพยดามารับก่อน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ โปรดให้สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ทรงคัดเลือกพุทธอิริยาบถจากเหตุการณ์พระพุทธประวัติตอนต่างๆ มาสร้างเป็นพระพุทธปฏิมา จากเดิมที่มีพระพุทธรูปปางหรือตอนในพุทธประวัติจำนวนสิบกว่าปางซึ่งเน้นอิริยาบถ นั่ง ยืน เดิน นอน


ชื่อเรื่อง                           เทศนาสังคิณี-มหาปัฎฐานสพ.บ.                                  192/3ประเภทวัสดุมีเดีย                    คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่                               พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ                           20 หน้า กว้าง 4.6 ซ.ม. ยาว 54.9 ซ.ม. หัวเรื่อง                                 พุทธศาสนา                                           บทสวดมนต์บทคัดย่อ/บันทึกเป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอม เส้นจาร ฉบับล่องชาด ได้รับบริจาคมาจากวัดพยัคฆาราม อ.ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี


ชื่อเรื่อง                                อานิสงส์มหาสงกรานต์ (อานิสงส์มหาสงกรานต์)สพ.บ.                                  115/1ประเภทวัสดุมีเดีย                    คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่                               พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ                           34 หน้า กว้าง 6 ซ.ม. ยาว 58 ซ.ม. หัวเรื่อง                                 สงกรานต์                                           พิธีทางศาสนาและพิธีกรรม  บทคัดย่อ/บันทึก เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอม เส้นจาร ฉบับลานดิบ ได้รับบริจาคมาจาก วัดประสพสุข   ต.ทับตีเหล็ก อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี


เลขทะเบียน : นพ.บ.67/1ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ :  44 หน้า ; 4.5 x 57 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 43 (14-18) ผูก 1 (2564)หัวเรื่อง : แปดหมื่นสี่พันพระธรรมขันธ์ (8 หมื่น) --เอกสารโบราณ             คัมภีร์ใบลาน             พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


เลขทะเบียน : นพ.บ.99/ฆ/1ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ :  74 หน้า ; 4.5 x 55.5 ซ.ม. : ทองทึบ ; ไม้ประกับธรรมดา  ชื่อชุด : มัดที่ 58 (154-159) ผูก 1 (2564)หัวเรื่อง : กจฺจายนมูล (พระมุลลกัจจายนนาม-ตัทธิต) --เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


เลขทะเบียน : นพ.บ.128/5ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ :  54 หน้า ; 4.5 x 51 ซ.ม. : รักทึบ ; ไม้ประกับธรรมดา  ชื่อชุด : มัดที่ 74 (267-274) ผูก 5 (2564)หัวเรื่อง : มูลตันไตย (มุลฺลตันไตย)--เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


          อาคาร“โรงเรียนสุนทรวิจิตร”ตั้งอยู่ริมแม่น้ำโขง ถนนสุนทรวิจิตร ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๐ แต่เดิมชื่อโรงเรียนบำรุงสตรี รับเฉพาะนักเรียนสตรีเท่านั้น ต่อมาเมื่อ พ.ศ.๒๔๗๗ จึงเปลี่ยนเป็นโรงเรียนสหศึกษาและเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "โรงเรียนบำรุงวิทยา" จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๔๘๙ ได้เปลี่ยนชื่อเป็น "โรงเรียนถนนสุนทรวิจิตร (บำรุงวิทยา) " ต่อมาได้ตัดคำว่าถนนออกเหลือเพียง “โรงเรียนสุนทรวิจิตร” จนถึงปัจจุบัน โดยทำการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลจนถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖           อาคารโรงเรียนสุนทรวิจิตร เป็นสถาปัตยกรรมแบบโคโลเนียล มีลักษณะเป็นอาคารชั้นเดียวแบบแถวยาวมีมุขทั้งด้านหน้าและด้านหลัง คล้ายเครื่องหมายบวก ระเบียงประดับด้วยซุ้มวงโค้ง บันไดทางขึ้นอยู่ด้านข้างของมุขที่ยื่นออกมา และด้านข้างของปีกทั้งสองข้างของตัวอาคาร พนักระเบียงเจาะเป็นรูปวงรี แบบที่นิยมในฝีมือช่างญวน มีการประดับเส้นคิ้วเหนือช่องหน้าต่าง และการเรียงสันอิฐ ล้วนเป็นรูปแบบที่พบเห็นได้โดยทั่วไปในแถบบริเวณลุ่มแม่น้ำโขง           โดยส่วนมากอาคารเรียนที่มีรูปแบบของส่วนกลาง (ส่วนกลางกรุงเทพมหานคร) มักจะมีรูปแบบอาคาร ๒ ชั้นเสมอ ทั้งนี้ ยังรวมถึงอาคารสถานที่ราชการก็ล้วนเป็นอาคาร ๒ ชั้น ดังนั้น สิ่งก่อสร้างอาคารเรียนซึ่งปรากฏเป็นอาคารแบบชั้นเดียวในเขตจังหวัดนครพนม จึงเป็นรูปแบบที่ได้รับมาจากทางประเทศเวียดนามหรือทาง สปป.ลาวมากกว่า อาคารหลังนี้นอกจากจะใช้เป็นสถานศึกษาของนักเรียนแล้ว ยังเป็นอีกหนึ่งสถานที่ที่บอกเล่าเรื่องราวของเมืองนครพนมได้เป็นอย่างดีทีเดียว-------------------------------------------------เรียบเรียงข้อมูล : นางสาวเมริกา สงวนวงษ์-------------------------------------------------อ้างอิง : - คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ.๒๕๔๒.วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดนครพนม.กรุงเทพฯ:คุรุสภาลาดพร้าว. - ชวลิต อธิปัตยกุล.สิมญวน ในอีสาน.อุดรธานี:เต้า-โล้,๒๕๕๘. - โรงเรียนสุนทรวิจิตร( https://data.bopp-obec.info)


สตฺตปฺปกรณาภิธมฺมเทศนา (เทศนาสังคิณี-มหาปัฎฐาน) เลขที่ ชบ.บ.3/1-5 เอกสารโบราณ (คัมภีร์ใบลาน)


ชื่อเรื่อง : นิราศลอนดอน ชื่อผู้แต่ง : ราโชทัย (ม.ร.ว. กระต่าย), หม่อม ปีที่พิมพ์ : 2504 สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯสำนักพิมพ์ : โรงพิมพ์ครุสภา จำนวนหน้า : 250 หน้าสาระสังเขป : นิราศลอนดอน แต่งโดยใช้กลอนนิราศในรูปแบบจดหมายเหตุการเดินทางแล้วตามด้วยบทร้อยกรอง มีเนื้อหาเกี่ยวกับคณะราชทูตไทยอัญเชิญพระราชสาส์น พร้อมทั้งเครื่องราชบรรณาการไปถวายสมเด็จพระราชินีนาถวิคตอเรีย ณ พระราชวังวินเซอร์ (พระราชวังประจำฤดูหนาว) ซึ่งทำให้ได้รับผลดีคือมีการเปลี่ยนแปลงสัญญาใหม่ โดยที่ไทยได้ประโยชน์เพิ่มขึ้น จากนั้นคณะราชทูตไทยได้รับพระราชทานเลี้ยงอาหารค่ำและน้ำชาและได้พักค้างแรม ณ พระราชวังวินเซอร์ 1 คืน ต่อมาจึงได้ไปเยี่ยมชมสถานที่สำคัญๆ เช่น โรงพยาบาล โรงงานทำเหรียญกษาปณ์ ป้อมศาสตราวุธแห่งลอนดอน เป็นต้น



ขอเชิญชมนิทรรศการเชิดชูเกียรติศิลปินอาวุโส ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป ประจำปี ๒๕๖๔ "ศักย ขุนพลพิทักษ์" ระหว่างวันที่ ๒๓ เมษายน – ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๔ ณ อาคารนิทรรศการ ๔ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป


องค์ความรู้ สรรพสาระ อยุธยา... ในหัวข้อ "เบ็ดเตล็ด กรุงเก่า" เรื่อง “โบราณสถานหมู่บ้านฮอลันดา” เรียบเรียงโดย นางสาวชญาดา สุวรัชชุพันธุ์ นักโบราณคดีชำนาญการ อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา


Messenger