ค้นหา

รายการที่พบทั้งหมด 43,030 รายการ

ห้องที่ 6 : สงขลาแหลมสน จัดแสดงโบราณวัตถุและศิลปวัตถุตามสาระสำคัญ คือ หลังจากสงขลาหัวเขาแดงถูกทำลายลงโดยกองทัพอยุธยา ได้มีการอพยพและตั้งชุมชนใหม่ในบริเวณแหลมสน เรียกว่า สงขลาฝั่งแหลมสน โดยชาวจีนเข้ามามีบทบาทสำคัญในการพัฒนาเมือง โดยชาวจีนนามว่า “เฮาเหยียง” ต้นตระกูล ณ สงขลา พัฒนาเมืองให้เจริญขึ้นอย่างมาก


  ***บรรณานุกรม***  ยอช เซเดส์   หลวงบริบาลบุรีภัณท์สุภัทรดิศ ดิศกุล ตำนานพระพิมพ์,พระพุทธรูปสมัยต่างๆในประเทศไทยพุทธศิลปในประเทศไทย อนุสรณ์ ในงานพระราชทานเพลิงศพขุนสันธานธนานุรักษ์ (นายชัยประสิทธิ์ สันธานธนา) ณวัดธาตุทอง สุขุมวิท พระนคร 20 กรกฏาคม 2510 พระนคร  โรงพิมพ์จำลอง ศิลป์ 2510



หมวดหมู่                        พุทธศาสนาภาษา                            บาลี/ไทยอีสานหัวเรื่อง                          ทาน (พุทธศาสนา)                                    อานิสงส์ประเภทวัสดุ/มีเดีย            คัมภีร์ใบลานลักษณะวัสดุ                    22 หน้า : กว้าง 5.5 ซม. ยาว 58 ซม. บทคัดย่อ                      เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอม เส้นจาร ฉบับชาดทึบ ได้รับบริจาคมาจากพระอธิการเด่น ปญฺญาทีโป วัดคิรีรัตนาราม  ต.ดอนคา อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี ดำเนินการอนุรักษ์เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2534


รายงานการเดินทางไปราชการ ณ สาธารณรัฐอินเดีย   1.ชื่อโครงการ/กิจกรรม             สัมมนามรดกทางโบราณคดีของเอเชียใต้(Archaeological Heritage of South Asia) 2.กำหนดเวลา วันที่ 14-22 พฤศจิกายน พ.ศ.2560 3.สถานที่ แคว้นอัสสัม สาธารณรัฐอินเดีย 4.หน่วยงานผู้จัด คณะกรรมการโบราณคดีแห่งแคว้นอัสสัม(Directorate of Archaeology,ASSAM/Government of ASSAM) 5.หน่วยงานสนับสนุน รัฐบาลแห่งแคว้นอัสสัม 6.กิจกรรม สัมมนาวิชาการด้านโบราณคดีและการจัดการมรดกทางโบราณคดีโดยจัดขึ้นที่มหาวิทยาลัย Guahati และมหาวิทยาลัย Manipur เป็นการนำเสนองานวิชาการมนห้องสัมมนาและศึกษาแหล่งโบราณคดีและแหล่งชุมชนเผ่าไท 7.คณะผู้แทนไทย 7.1 นายชินณวุฒิ วิลยาลัย                   นักโบราณคดีชำนาญการพิเศษ                                                 สำนักศิลปากรที่ ๗ เชียงใหม่ 7.2 นายลักษมณ์ บุญเรือง                    ภัณฑารักษ์ชำนาญการ                                                 พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอินทร์บุรี 8.สรุปสาระของกิจกรรม 8.1 นำเสนอบทความวิชาการ ณ มหาวิทยาลัย Guahati นักวิชาการจากสาธารณรัฐอินเดีย บังคลาเทศและไทย จำนวน ๓๐ ท่าน นำเสนอบทความด้านโบราณคดีทั้งสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัยประวัติศาสตร์ โดยเฉพาะผลการศึกษาโบราณคดีในพื้นที่แคว้นอัสสัม โดยคณะผู้แทนของกรมศิลปากร นำเสนอ ดังนี้             8.1.1 นายชินณวุฒิ วิลยาลัย นักโบราณคดีชำนาญการพิเศษ  สำนักศิลปากรที่ ๗ เชียงใหม่ นำเสนอบทความ เรื่อง Rock Arts in Lampang province, Thailand : Pratupha archaeological site.             8.1.2 นายลักษมณ์ บุญเรือง ภัณฑารักษ์ชำนาญการ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอินทร์บุรี นำเสนอบทความ เรื่อง Beliefs of NAGA and Roles of Tai societies in the upper Mekong subregion.           8.2 ทัศนศึกษาพิพิธภัณฑ์แห่งแคว้นอัสสัมและแหล่งโบราณคดี Madam Kemdev           8.3 นำเสนอข้อมูล ณ มหาวิทยาลัย Manipur โดยการถาม-ตอบ ข้อมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย ประวัติศาสตร์และโบราณคดีในชั้นเรียนระดับปริญญาโท 9.ข้อเสนอแนะจากการจัดกิจกรรม 9.1 คณะผู้จัดงานแจ้งว่ามีความตั้งใจจะจัดงานลักษณะนี้ขึ้นอีกในปีต่อๆไป กรมศิลปากรควรจัดส่งนักวิชาการเข้าร่วมเนื่องจากข้อมูลทางโบราณคดี-มานุษยวิทยาและประวัติศาสตร์ของพื้นที่แคว้นอัสสัมต่อเนื่องมาถึงตอนเหนือของประเทศไทยนั้นมีความเชื่อมโยงกันอย่างชัดเจนและเป็นที่สนใจของนักวิชาการในสาธารณรับอินเดียอย่างมาก 9.2  มีโอกาสที่จะสร้างเครือข่ายการศึกษาหรือวิจัยข้ามภูมิภาคอินเดีย-พม่า-ไทย-ลาว-จีน อย่างมากโดยเฉพาะในช่วงเวลา 2,000-500 ปีที่ผ่านมา     ................................................ผู้สรุปผลการเดินทางไปราชการ                                                        (นายชินณวุฒิ วิลยาลัย)     ................................................ผู้สรุปผลการเดินทางไปราชการ                                                        (นายลักษมณ์ บุญเรือง)  


หมวดหมู่                        พุทธศาสนาภาษา                            บาลี/ไทยหัวเรื่อง                          พุทธศาสนา—บทสวดมนต์                                    บทสวดมนต์                                    พระอภิธรรมประเภทวัสดุ/มีเดีย            คัมภีร์ใบลานลักษณะวัสดุ                    24 หน้า : กว้าง 4.5 ซม. ยาว 56.5ซม. บทคัดย่อ                      เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอม เส้นจาร ฉบับล่องชาด ได้รับบริจาคมาจากพระครูวิมลสังวร วัดแค ต.รั้วใหญ่ อ.เมืองฯ จ.สุพรรณบุรี


ชื่อผู้แต่ง :      ปุ่น  จงประเสริฐ ชื่อเรื่อง :       ท่านปัญญาปลุกเสกพระสงฆ์ ปีที่พิมพ์ :      ม.ป.ป สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ โรงพิมพ์      : สมชายการพิมพ์ จำนวนหน้า    14 หน้า                    ปาฐกถาธรรมของท่านปัญญานันทะ ซึ่งได้ถอดความมาจากการอัดเสียงของท่าน เพื่อพิมพ์แจกหรือขายในราคาถูกที่สุด จึงได้ย่อ จาก 32 หน้าเหลือ 16 หน้า และได้เก็บเอาแต่ใจความสำคัญ และได้ตั้งชื่อว่า “ท่านปัญญาปลุกเสกพระสงฆ์”จะกล่าวถึงการที่มีบุคคลได้หวังทำมาหากินกับการทำพุทธาภิเษก ด้วยวิธีการต่างๆ หวังเพียงเพื่อหลอกลวงประชาชน




นริศรานุวัดติวงศ์, สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยา และ ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. สาส์นสมเด็จ (ภาคที่ 49). พระนคร : กรมศิลปากร, 2502.               สาส์นสมเด็จ (ภาคที่ 49) นี้ เป็นลายพระหัตถ์สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์กับสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงมีโต้ตอบกันในบั้นปลายแห่งพระชนม์ชีพ เมื่อทรงวางภาระทางราชการงานเมือง และทรงพักผ่อนอย่างเงียบๆ มีเนื้อหาครอบคลุมเรื่องโบราณคดี ศิลปะ วรรณคดี และการปกครอง




วิจิตรวาทการ,หลวง. ประวัติศาสตร์สากล เล่ม ๘. พิมพ์ครั้งที่ ๑.  พระนคร : โรงพิมพ์วิริยานุภาพ, ๒๔๗๓       หลวงวิจิตรวาทการได้เล่าเกี่ยวกับลักษณะอุปนิสัยของคนญี่ปุ่นที่เป็นคนรักชาติ สามารถพัฒนาประเทศได้รวดเร็ว ส่วนอินเดียได้กล่าวถึงศาสนาอิสลามที่เข้ามาในอินเดีย ส่วนจีนนั้นได้กล่าวถึงสมัยของเก็กเหม็งได้ชัยชนะและจีได้เปลี่ยนการปกครองเป็นสาธารณรัฐ สุดท้ายคือสยามหรือประเทศไทยของได้กล่าวถึงตอนสิ้นแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระมงกำเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็นการย่างก้าวเข้าสู่สมัยใหม่



ชื่อเรื่อง : อุตสาหกรรมผลิตเครื่องมือหินแหล่งโบราณคดีภูซาง ผู้แต่ง : สำนักศิลปากรที่ 7 น่าน กรมศิลปากร ปีที่พิมพ์ : 2549 สถานที่พิมพ์ : เชียงใหม่ สำนักพิมพ์ : เลทโกโชว์