ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 41,382 รายการ
ยันต์และคาถาอาคม ชบ.ส. ๑๐๖
เจ้าอาวาสวัดเขาคันธมาทน์ ต.สัตหีบ อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี
มอบให้หอสมุด ๒๓ ก.ค. ๒๕๓๕
เอกสารโบราณ (สมุดไทย)
สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม (สังคิณี-มหาปัฎฐาน) เลขที่ ชบ.บ.32/1-4 เอกสารโบราณ (คัมภีร์ใบลาน)
" ๔๘ ปี แห่ง ความทรงจำ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่"
๐ เนื่องในวันที่ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ ที่จะถึงนี้ เป็นวาระครบรอบ ๔๘ ปี การเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ อย่างเป็นทางการ
๐ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ จึงขอนำเสนอ เรื่องราวความทรงจำ พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงตลอดระยะเวลา ๔๘ ปีที่ผ่านมาของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ โดยจะแบ่งเนื้อหาออกเป็น ๓ ตอนค่ะ
.......................................................
(ตอนที่ ๑) : จุดเริ่มต้นความทรงจำ
. การจัดตั้งพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ เริ่มขึ้นในปีพุทธศักราช ๒๕๑๒ มีการปรับปรุงพื้นที่ประมาณ ๒๓ ไร่ อาคารพิพิธภัณฑสถานเป็นอาคารทรงไทยประยุกต์สองชั้น ก่ออิฐถือปูน ประดับยอดจั่วด้วยกาแลแบบศิลปะพื้นถิ่นภาคเหนือ
. วัตถุประสงค์หลักของการจัดตั้งพิพิธภัณฑสถานแห่งชาตินี้ คือ การตั้งแสดงโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุที่รวบรวมได้จากบริเวณภาคเหนือตอนบน อันประกอบด้วย พื้นที่ 8 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน แพร่ พะเยา น่าน ลำพูน และลำปาง และสาเหตุที่พิจารณา จังหวัดเชียงใหม่ เป็นสถานที่ตั้งของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เนื่องจากมีความสำคัญในประวัติศาสตร์ชาติไทย เคยเป็นที่ตั้งของราชธานีหรือเมืองหลวง ศูนย์กลางของอาณาจักรล้านนาหรือไทยฝ่ายเหนือมาก่อน อีกทั้งยังคงสถานะเป็นศูนย์กลางความเจริญของภาคเหนือสืบต่อมาจนทุกวันนี้
. เมื่ออาคารพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ แล้วเสร็จ ได้มีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๖ โดยพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พร้อมด้วย สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เสด็จพระราชดำเนินมาเป็นประธานประกอบพิธีเปิด
. พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ประกาศจัดตั้งเป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๑๖ และสามารถเปิดให้สาธารณชนเข้าชมและใช้บริการต่าง ๆ ของพิพิธภัณฑสถานได้นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นครศรีธรรมราช ขอนำเสนอ
วีดิทัศน์ประกอบนิทรรศการพิเศษเนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย ประจำปี ๒๕๖๔ เรื่อง "ผ้าพระบฏ : พุทธศรัทธาบนผืนผ้า" (ตอนที่ ๒)
- ความเป็นมาของผ้าพระบฏพระราชทาน เกียรติยศและความภาคภูมิใจของชาวนครศรีธรรมราช
- ไขความรู้โดย ผศ.ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ (ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช)
และโปรดติดตามกิจกรรมร่วมสนุกตอบคำถามเพื่อรับของที่ระลึกสุดพิเศษได้ทางหน้าเพจ เร็วๆ นี้
ขอเชิญชวนผู้สนใจเข้าชมนิทรรศการพิเศษ "ผ้าพระบฏ : พุทธศรัทธาบนผืนผ้า" ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นครศรีธรรมราช ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป
-----------------------------------------------------------
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นครศรีธรรมราช
แหล่งเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ในจังหวัดนครศรีธรรมราช
เปิด : วันพุธ-วันอาทิตย์ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๖.๐๐ น.
ปิด : วันจันทร์-วันอังคาร และวันหยุดนักขัตฤกษ์
ค่าเข้าชม : ผู้ใหญ่ ๓๐ บาท ,
นักเรียน นักศึกษา ผู้สูงอายุ พระภิกษุ และนักบวชทางศาสนา เข้าชมฟรี
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ๐๗๕-๓๔๑๐๗๕
ธนาคารแห่งประเทศไทย พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ ม.ร.ว.ทองเถา ทองแถม ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริยาราม วันที่ ๑๘ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๑๐
ชื่อเรื่อง มหานิบาตวณฺณนา (เวสฺสนฺตรชาตก) ชาตกฏฺฐกถา ขุทฺทกนิกายฏฺฐกถา (มัทรี-มหาราช)
สพ.บ. 209/9ประเภทวัสดุมีเดีย คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่ พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ 32 หน้า กว้าง 4 ซ.ม. ยาว 56 ซ.ม. หัวเรื่อง พุทธศาสนา ชาดก เทศน์มหาชาติ คาถาพัน
บทคัดย่อ/บันทึก
เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรธรรมอีสาน ภาษาบาลี-ไทยอีสาน เส้นจาร ฉบับลานดิบ ได้รับบริจาคมาจากวัดกกม่วง ต.บางปลาม้า อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี
ชื่อเรื่อง มหานิปาตวณฺณนา (เวสฺสนฺตรชาดก)ชาตกฎฐกถา ขุทฺทกนิกายฏฐกถา (ทานขันธ์-นครกัณฑ์)
สพ.บ. 250/5ประเภทวัสดุมีเดีย คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่ พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ 52 หน้า กว้าง 5 ซม. ยาว 59 ซม.หัวเรื่อง พุทธศาสนา--การศึกษาและการสอน ชาดก
บทคัดย่อ/บันทึก เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรธรรมอีสาน ภาษาบาลี-ไทยอีสาน เส้นจาร ฉบับลานดิบ-ล่องรัก ได้รับบริจาคมาจากวัดทุ่งอุทุมพร ต.บางปลาม้า อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี