ค้นหา

รายการที่พบทั้งหมด 41,380 รายการ

ชื่อเรื่อง : ชุมนุมเรื่องจันทบุรี พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นางวรรณ จันทวิมล ณ สุสานหลวงวัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 29 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2514 ชื่อผู้แต่ง : วรรณ จันทวิมลปีที่พิมพ์ : 2514 สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว จำนวนหน้า : 414 หน้า สาระสังเขป : หนังสือเล่มนี้ประมวลเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับจันทบุรี - ประวัติเมืองจันทบุรี ของ ตรี อมาตยกุล - ประกาศตั้งมณฑลจันทบุรีและตั้งเมืองขลุง ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ร.ศ. 125 (พ.ศ. 2449) - อักขรานุกรมภูมิศาสตร์จังหวัดจันทบุรี - เรื่องจันทบุรี ในพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 3 ของ เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ - ประกาศเทวดาเป็นพิธีวิเศษ เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จกลับจากจันทบุรี - สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ ต่อเรือรบที่จันทบุรี พ.ศ. 2378 - เรื่องจันทบุรี ในประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 31 จดหมายเหตุเรื่องมิชชันนารีอเมริกันเข้ามาประเทศไทย พ.ศ. 2378-2379 - เสด็จประพาสจันทบุรี พ.ศ. 2419 พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว - พระราชหัตถเลขา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อเสด็จประพาสหัวเมืองชายทเลตวันออก ในปีมะเมีย พ.ศ. 2425 กับปีมะแม พ.ศ. 2426 และปีวอก พ.ศ. 2427 - ฝรั่งเศสยึดจันทบุรี จากหนังสือเรื่อง ประเทศไทย การเสียดินแดนแก่ฝรั่งเศส - จดหมายเหตุสมัยฝรั่งเศสยึดเมืองจันทบุรี (พ.ศ. 2436-2447) - รายงานการฉลองเมืองจันทบุรี จากเอกสารรายงานของพระยาศรีสหเทพจัดราชการเมืองจันทบุรี ร.ศ. 123 - เรื่องจันทบุรี ในหนังสือเรื่องเที่ยวที่ต่างๆ ภาค 1-5 - เรื่องจันทบุรี ในจดหมายเหตุประกอบเรื่องไกลบ้าน ว่าด้วยการส่งเสด็จ


ชื่อเรื่อง                                        สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม  (สงฺคิณี-มหาปฏฺฐาน) อย.บ.                                           14/6ประเภทวัดุ/มีเดีย                       คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่                                     พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ                              46 หน้า : กว้าง 5.2 ซม. ยาว 54.5 ซม.หัวเรื่อง                                        พุทธศาสนาบทคัดย่อ/บันทึก               เป็นคัมภีร์ใบลาน เส้นจาร ฉบับทองทึบ ไม้ประกับธรรมดา ได้รับบริจาคมาจาก จ.พระนครศรีอยุธยา


          สำนักการสังคีต กรมศิลปากร ขอเชิญชมการแสดงเนื่องในโอกาส ๑๑๒ ปี แห่งการสถาปนากรมศิลปากรวันจันทร์ที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๖๖ เวลา ๑๘.๐๐ น. ณ เวทีกลางแจ้ง บริเวณพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร พบกับการแสดงโขน เรื่องรามเกียรติ์ ชุดนางลอย ทศกัณฐ์ยกรบ นำแสดงโดย ศิลปินสำนักการสังคีต กำกับการแสดงโดย หัสดินทร์ ปานประสิทธิ์อำนวยการแสดงโดย ลสิต อิศรางกูร ณ อยุธยา ผู้อำนวยการสำนักการสังคีต           * ชมฟรี * สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม (วันและเวลาราชการ) โทร. ๐ ๒๒๒๔ ๑๓๔๒ และ โทร. ๐๒๒๒๑ ๐๑๗๑           นอกจากรับชมการแสดงโขนแล้ว ยังสามารถเที่ยวชมงาน ๑๑๒ ปี แห่งการสถาปนากรมศิลปากร ร่วมฟังการเสวนาทางวิชาการ และเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม สินค้าท้องถิ่น ของที่ระลึก และหนังสือกรมศิลปากร ลดราคาพิเศษ พร้อมลุ้นรับของที่ระลึกจากกรมศิลปากร ระหว่างวันที่ ๒๗ – ๒๙ มีนาคม ๒๕๖๖ ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร


    ชื่อผู้แต่ง          สมาคมเศรษฐศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชินูปถัมภ์ ชื่อเรื่อง           อนุสรณ์งานชุมนุมแม่บ้านครั้งที่ ๑๔ วารสารคหเศรษฐศาสตร์ ฉบับพิเศษ ครั้งที่พิมพ์       - สถานที่พิมพ์     กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์       สมาคมเศรษฐศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชินูปถัมภ์ ปีที่พิมพ์          ๒๕๑๔ จำนวนหน้า      ๑๘๑ หน้า รายละเอียด                     อนุสรณ์งานชุมนุมแม่บ้านครั้งที่ ๑๔ วารสารคหเศรษฐศาสตร์ ฉบับพิเศษ ฉบับนี้ ประกอบด้วยบทความทั้งหมด ๑๙ บทความ เนื้อหาหลักจะเน้นไปในเรื่องแต่งให้งาม ซึ่งนอกจากแต่งตัวแล้วก็มีแต่งสวน แต่งส่วนต่างๆ ของคน แต่งห้อง แต่งบ้าน ได้แก่ ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่ง แต่งอารมณ์ด้วยสวนถาด แต่งบริเวณบ้าน แต่งหัวใจและแต่งงาน ทุกเรื่องล้วนให้ข้อคิด คติเตือนใจพร้อมคำแนะนำดีๆ    มาให้อ่านกัน พร้อมภาพประกอบ      


เลขทะเบียน : นพ.บ.378/1กห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 26 หน้า ; 4.5 x 52.5 ซ.ม. : ชาดทึบ-ล่องรัก-ลานดิบ ; ไม่มีไม้ประกับชื่อชุด : มัดที่ 143  (26-39) ผูก 1ก (2566)หัวเรื่อง : จีรธารกถา --เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


เลขทะเบียน : นพ.บ.518/3ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 56 หน้า ; 4.5 x 50.5 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดาชื่อชุด : มัดที่ 173  (254-258) ผูก 3 (2566)หัวเรื่อง : แปดหมื่นสี่พันขันธ์--เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล ประกอบด้วย 5 ตัวชี้วัดย่อย ดังนี้ ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.1 ข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลพื้นฐาน ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบด้านข้อมูล o1 โครงสร้าง โครงสร้าง o2 ข้อมูลผู้บริหาร ข้อมูลผู้บริหาร o3 อำนาจหน้าที่ อำนาจหน้าที่ o4 แผนยุทธศาสตร์หรือแผนพัฒนาหน่วยงาน แผนยุทธศาสตร์หรือแผนพัฒนาหน่วยงาน o5 ข้อมูลการติดต่อ ข้อมูลการติดต่อ o6 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง กฎหมายที่เกี่ยวข้อง การประชาสัมพันธ์ ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบด้านข้อมูล o7 ข่าวประชาสัมพันธ์ ข่าวประชาสัมพันธ์ การปฏิสัมพันธ์ข้อมูล ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบด้านข้อมูล o8 Q&A Q&A o9 Social Network Social Network o10 นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.2 การบริหารงาน การดำเนินงาน ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบด้านข้อมูล o11 แผนดำเนินงานและการใช้งบประมาณประจำปี o แผนปฏิบัติราชการ 1ปี_ปี2566   o12 รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานและการใช้งบประมาณประจำปี รอบ 6 เดือน รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานและการใช้งบประมาณประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๖ รอบ ๖ เดือน o13 รายงานผลการดำเนินงานประจำปี   o รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ การปฏิบัติงาน ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบด้านข้อมูล o14 คู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงาน o คู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงาน การให้บริการ* ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบด้านข้อมูล o15 คู่มือหรือมาตรฐานการให้บริการ o คู่มือหรือมาตรฐานการให้บริการ o16 ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ o ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ ระยะเวลา ๖ เดือนแรกของปี พ.ศ. ๒๕๖๖ o17 รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ o รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ o18 E–Service o E-Service   ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.3 การจัดซื้อจัดจ้าง การจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบด้านข้อมูล o19 แผนการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนการจัดหาพัสดุ o แผนการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนการจัดกาพัสดุ ปี พ.ศ. ๒๕๖๖ o20 ประกาศต่าง ๆ เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ o ประกาศต่าง ๆ เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ ปี พ.ศ. ๒๕๖๖ o21 สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุรายเดือน สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุรายเดือน ครอบคลุมในระยะเวลา ๖ เดือนแรกของปี พ.ศ. ๒๕๖๖  o22 รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุประจำปี o รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕   ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.4 การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบด้านข้อมูล o23 นโยบายหรือแผนการบริหารทรัพยากรบุคคล O๒๓_๑ แผนปฏิบัติการด้านการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรมศิลปากร พ.ศ.  ๒๕๖๖-๒๕๗๐ O๒๓_๒ แผนปฏิบัติการด้านการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรมศิลปากร พ.ศ.  ๒๕๖๖ o24 การดำเนินการตามนโยบายหรือแผนการบริหารทรัพยากรบุคคล O๒๔_๑ ข้อมูลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการกลุ่มบริหารทรัพยากรบุคคล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ไตรมาสที่ ๑ - ๒ (ตุลาคม ๒๕๖๕- มีนาคม ๒๕๖๖ : รอบ ๖ เดือน) o25 หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ใช้บังคับ ปี พ.ศ. ๒๕๖๖ O๒๕_๑ คู่มือการสรรหาและเลือกสรรบุคคลเข้ารับราชการ การอนุมัติคัดเลือกจากบัญชีผู้สอบแข่งขันได้และการบรรจุและการแต่งตั้งข้าราชการพลเรือน กรมศิลปากร                   ข้อ ๑ การสรรหาและคัดเลือกบุคลากร                   ข้อ ๒ การบรรจุและแต่งตั้งบุคลากร     O๒๕_๒ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่เกี่ยวข้องกับการแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญสังกัดกรมศิลปากร                  ข้อ ๒ การบรรจุและแต่งตั้งบุคลากร   O๒๕_๓ หลักเกณฑ์และแนวทางที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทรัพยากรบุคคล                   ข้อ ๓ การพัฒนาบุคลากรO๒๕_๔ หลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติราชการของบุคลากในสังกัดกรมศิลปากร                   ข้อ ๔ การประเมินผลการปฏิบัติราชการO๒๕_๕ หลักเกณฑ์และแนวทางที่เกี่ยวข้องกับการให้ทุนให้โทษและการสร้างขวัญกำลังใจแก่บุคลากร                   ข้อ ๕ การให้คุณให้โทษและการสร้างขวัญกำลังใจ o26 รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลประจำปี o รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล กรมศิลปากร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕   ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.5 การส่งเสริมความโปร่งใส การจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบด้านข้อมูล o27 แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ o แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ / แนวทางการดำเนินการต่อเรื่องร้องเรียนที่เกี่ยวข้องกับการทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน กรมศิลปากร o28 ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ oช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ o29 ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ o ข้อมูลสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ ราย ๖ เดือน ครอบคลุมระยะเวลา ๖ เดือนแรก ของปี พ.ศ. ๒๕๖๖ การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบด้านข้อมูล o30 การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม o การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ. ๒๕๖๖ ตัวชี้วัดที่ 10 การป้องกันการทุจริต  ตัวชี้วัดย่อยที่ 10.1 การดำเนินการเพื่อป้องกันการทุจริต นโยบาย No Gift Policy*   ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบด้านข้อมูล o31 ประกาศเจตนารมณ์นโยบาย No Gift Policy จากการปฏิบัติหน้าที่ o การประกาศเจตนารมณ์นโยบาย No Gift Policy จากการปฏิบัติหน้าที่ ปี พ.ศ. ๒๕๖๖ O32 การสร้างวัฒนธรรม No Gift Policy O๓๒_๑ การฝึกอบรม โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “การยกระดับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ รวมทั้ง เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการสร้างวัฒนธรรม No Gift Policy ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ และจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของกรมศิลปากร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖” เมื่อวันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๖๖ เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๖.๐๐ น. จำนวน ๑ วัน ณ ห้องประชุมใหญ่ สำนักหอสมุดแห่งชาติ O33 รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy O๓๓_รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy รอบ ๖ เดือน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๖_ส่วน1 O๓๓_รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy รอบ ๖ เดือน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๖_ส่วน2 O๓๓_รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy รอบ ๖ เดือน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๖_ส่วน3 O๓๓_รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy รอบ ๖ เดือน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๖_ส่วน4 O๓๓_รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy รอบ ๖ เดือน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๖_ส่วน5 O๓๓_รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy รอบ ๖ เดือน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๖_ส่วน6 O๓๓_รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy รอบ ๖ เดือน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๖_ส่วน7 O๓๓_รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy รอบ ๖ เดือน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๖_ส่วน8 O๓๓_รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy รอบ ๖ เดือน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๖_ส่วน9 O๓๓_รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy รอบ ๖ เดือน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๖_ส่วน10 O๓๓_รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy รอบ ๖ เดือน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๖_ส่วน11 O๓๓_รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy รอบ ๖ เดือน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๖_ส่วน12 O๓๓_รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy รอบ ๖ เดือน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๖_ส่วน13 O๓๓_รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy รอบ ๖ เดือน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๖_ส่วน14 O๓๓_รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy รอบ ๖ เดือน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๖_ส่วน15 O๓๓_รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy รอบ ๖ เดือน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๖_ส่วน16 การประเมินความเสี่ยงเพื่อป้องกันการทุจริต ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบด้านข้อมูล o34 การประเมินความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบประจำปี oการประเมินความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๖ o35 การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบ o การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบ ตามข้อ O๓๔ และดำเนินการในปี พ.ศ. ๒๕๖๖ แผนป้องกันการทุจริต* ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบด้านข้อมูล o36 แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต o แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ o37 รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี รอบ 6 เดือน oรายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๖ รอบ ๖ เดือน o38 รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี o รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริต ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕   ตัวชี้วัดย่อย 10.2 มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใส มาตรการเสริมสร้างมาตรฐานทางจริยธรรม   ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบด้านข้อมูล o39 ประมวลจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ O๓๙_๑ ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือนO๓๙_๒ ข้อกำหนดจริยธรรมของกรมศิลปากร ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ O40 การขับเคลื่อนจริยธรรม O๔๐_๑ คำสั่งกรมศิลปากร ที่ ๒๗๙/๒๕๖๖ เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนเรื่องจริยธรรม ลงวันที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๖๖ O๔๐_๒ แนวทางการปฏิบัติ Dos & Don’t เพื่อลดความสับสนเกี่ยวกับพฤติกรรมสีเทา และเป็นแนวทางในการประพฤติตนทางจริยธรรม O๔๐_๓ การฝึกอบรม โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “การยกระดับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ รวมทั้ง เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการสร้างวัฒนธรรม No Gift Policy ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ และจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของกรมศิลปากร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖” เมื่อวันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๖๖ เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๖.๐๐ น. จำนวน ๑ วัน ณ ห้องประชุมใหญ่ สำนักหอสมุดแห่งชาติ O41 การประเมินจริยธรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ O๔๑_การประเมินจริยธรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ  พ.ศ. ๒๕๖๖และการกำหนดไปใช้ประเมินเจ้าหน้าที่_ส่วน1O๔๑_การประเมินจริยธรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๖และการกำหนดไปใช้ประเมินเจ้าหน้าที่_ส่วน2O๔๑_การประเมินจริยธรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ  พ.ศ. ๒๕๖๖และการกำหนดไปใช้ประเมินเจ้าหน้าที่_ส่วน3O๔๑_การประเมินจริยธรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ  พ.ศ. ๒๕๖๖และการกำหนดไปใช้ประเมินเจ้าหน้าที่_ส่วน4O๔๑_การประเมินจริยธรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ  พ.ศ. ๒๕๖๖และการกำหนดไปใช้ประเมินเจ้าหน้าที่_ส่วน5O๔๑_การประเมินจริยธรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ  พ.ศ. ๒๕๖๖และการกำหนดไปใช้ประเมินเจ้าหน้าที่_ส่วน6O๔๑_การประเมินจริยธรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ  พ.ศ. ๒๕๖๖และการกำหนดไปใช้ประเมินเจ้าหน้าที่_ส่วน7 มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสและป้องกันการทุจริตภายในหน่วยงาน ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบด้านข้อมูล o42 มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน O๔๒_๑ รายงานการวิเคราะห์ผลการประเมินคุณธรรมO๔๒_๒ มาตรการที่ขับเคลื่อนการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงานกรมศิลปากร o43 O๔๓_๑ รายงานความก้าวหน้าการดำเนินการตามมาตรการเพื่อขับเคลื่อนการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน (กรมศิลปากร)O๔๓_๒ กรมศิลปากร แสดง QR code แบบวัด EIT บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน (กรมศิลปากร)  O๔๓_การดำเนินการตามมาตรการส่งเสริมปี2566ส่วน1O๔๓_การดำเนินการตามมาตรการส่งเสริมปี2566ส่วน2O๔๓_การดำเนินการตามมาตรการส่งเสริมปี2566ส่วน3O๔๓_การดำเนินการตามมาตรการส่งเสริมปี2566ส่วน4O๔๓_๒ กรมศิลปากร แสดง QR code แบบวัด EIT


ชื่อเรื่อง                         ธมฺมปทวณฺณนา ธมฺมปทฏฺธกถา ขุทฺทกนิกายฏฺธกกา (ธมฺมฺปทขั้นปลาย)อย.บ.                            241/4หมวดหมู่                       พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ                  58 หน้า กว้าง 5 ซม. ยาว 58.5 ซม.หัวเรื่อง                         พระธรรมเทศนา                                                                       บทคัดย่อ/บันทึก          เป็นคัมภีร์ใบลาน ฉบับทองทึบ ไม้ประกับธรรมดา


ชื่อเรื่อง                        สพ.บ.424/9 พระเจ้าห้าสิบชาติ (ห้าสิบชาติ) สพ.บ.                           424/9 ประเภทวัสดุมีเดีย            คัมภีร์ใบลาน หมวดหมู่                      พุทธศาสนา ลักษณะวัสดุ                  55 หน้า กว้าง 4.5 ซม. ยาว 55.3 ซม. หัวเรื่อง                        พุทธศาสนา                                  เทศน์มหาชาติ                                  ชาดก บทคัดย่อ/บันทึก             เป็นคัมภีร์ใบลาน ได้รับบริจาคมาจากวัดลานคา ต.โคกคราม อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี


องค์ความรู้: สำนักหอสมุดแห่งชาติ เรื่อง: หนังสือรวมเพลง           หนังสือรวมเพลง เริ่มพบว่ามีจัดพิมพ์ออกจำหน่ายตั้งแต่ช่วง พ.ศ. 2480 เป็นหนังสือที่รวบรวมเนื้อเพลงที่ได้รับความนิยมจากสื่อต่าง ๆ เช่น แผ่นเสียง ละคร ภาพยนตร์ รำวง วิทยุ ฯลฯ มีชื่อเรียกแตกต่างกันไป บ้างเรียกสมุดเพลง ชุมนุมเพลง สมุดบทเพลงร้อง เป็นต้น โดยส่วนใหญ่มักเป็นการรวมเพลงเอกที่ได้รับความนิยมของนักแต่งเพลงและศิลปินที่มีชื่อเสียงในยุคนั้น เช่น นารถ ถาวรบุตร์, ชลอ ไตรตรองศร, ล้วน ควันธรรม, ป. ชื่นประโยชน์, สมยศ ทัศนพันธ์ เป็นต้น เนื้อหาภายในเล่มนำเสนอเนื้อเพลงและโน้ตเพลง พร้อมชื่อผู้ประพันธ์เพลงและผู้ขับร้อง หากบทเพลงนั้นนำมาจากแผ่นเสียง ละคร หรือภาพยนตร์ก็จะมีรายละเอียดข้อมูลดังกล่าวประกอบด้วย            ต่อมาในช่วงต้น พ.ศ. 2500 หนังสือรวมเพลงได้มีการพัฒนาเนื้อหาภายในเล่มมากขึ้น โดยมีรูปแบบคล้ายสิ่งพิมพ์ต่อเนื่องประเภทนิตยสาร นอกจากจะรวบรวมเนื้อเพลงที่ได้รับความนิยมในขณะนั้น ยังมีการนำเสนอคอลัมน์ต่าง ๆ ที่น่าสนใจ เช่น รายงานผลการจัดอันดับเพลงยอดนิยมในรอบเดือน โน้ตเพลงฉบับสมบูรณ์ แนะนำครูเพลงและศิลปิน ปกิณกะด้านดนตรีที่น่าสนใจ ทฤษฎีโน้ตสากลเบื้องต้น ตลอดจนบอกเล่าข่าวสารต่าง ๆ ในแวดวงดนตรี พร้อมภาพประกอบสี่สีสวยงามของนักร้องที่มีชื่อเสียง นอกจากนี้ยังมีคอลัมน์ที่ผู้อ่านสามารถมีส่วนร่วมได้ เช่น การตอบปัญหาเพลง การส่งคำถามเกี่ยวกับศิลปินหรือขอให้จัดพิมพ์บทเพลงที่ต้องการถึงกองบรรณาธิการ และการหาเพื่อนทางจดหมายผ่านหนังสือรวมเพลง หนังสือรวมเพลงไทยสากลที่มีรูปแบบดังกล่าว เช่น เพลงกล่อมจิต และชาวเพลง สำหรับหนังสือรวมเพลงสากลมีด้วยกันหลายปก เช่น MR.HITS, CURRRENT SONG HITS, IMPRESSIVE SONGS เป็นต้น            ผู้เขียนขอกล่าวถึงหนังสือรวมเพลงสากล IMPRESSIVE SONGS ซึ่งได้รับความนิยมอย่างมากในยุคนั้น และพัฒนามาเป็นหนังสือรวมเพลงในปัจจุบัน จัดทำโดย เล็ก วงศ์สว่าง นักจัดรายการวิทยุชื่อดัง โดยหนังสือเพลงของเล็กแตกต่างจากหนังสือเพลงเล่มอื่น ๆ ที่ขายในท้องตลาด คือ มีเล่มเล็กขนาดเท่าฝ่ามือ สะดวกในการพกพา ต่อมาขยายขนาดเล่มให้ใหญ่ขึ้นตามลำดับ พร้อมกับเปลี่ยนชื่อหนังสือเป็น I.S. Song Hits เพื่อให้เรียกง่ายขึ้น ปัจจัยที่ทำให้หนังสือรวมเพลงเล่มนี้ได้รับความนิยม คือ คุณภาพและความรวดเร็วในการจัดทำ นอกจากนี้ยังใช้กลยุทธ์การแจกโปสเตอร์ศิลปินตามปกหนังสือ เพื่อเป็นการคืนกำไรให้กับผู้ซื้อ ต่อมาได้เริ่มมีการนำคอร์ดกีตาร์เข้ามาใส่ในเนื้อเพลง จนถึง พ.ศ. 2512 เมื่อกระแสเพลงป๊อปของไทยเริ่มได้รับความนิยม เกิดวงสตริงใหม่ ๆ หลายวง จึงได้เปิดตัว THE GUITAR ซึ่งเป็นหนังสือรวมเนื้อเพลงไทยพร้อมคอร์ดกีตาร์ ภายในเล่มมีวิธีการจับคอร์ดขั้นพื้นฐานสำหรับการฝึกด้วยตนเอง หนังสือเล่มนี้จึงเปรียบเสมือนเป็นครูดนตรีฉบับกระเป๋าที่ได้รับความนิยมในหมู่วัยรุ่นมายาวนานหลายทศวรรษจนถึงปัจจุบัน            หนังสือรวมเพลง นอกจากจะช่วยให้คนรักดนตรีสามารถนำไปฝึกร้องหรือเล่นดนตรีได้ด้วยตนเอง ทำให้เกิดความรื่นรมย์และความเพลิดเพลินใจแล้ว ยังเป็นสิ่งที่บันทึกความเป็นไปของวงการเพลงไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยสะท้อนให้เห็นถึงความนิยมในบทเพลงของแต่ละยุคสมัย ตลอดจนความเคลื่อนไหว และข่าวสารในแวดวงดนตรีของไทยอีกด้วย ------------------------------------------------ เอกสารอ้างอิง ปรมาจารย์หนังสือเพลง...เบื้องหลังนักสร้างคนดนตรี : เล็ก วงศ์สว่าง – เพจยอดมนุษย์คนธรรมดา.  [ออนไลน์].  สืบค้นเมื่อ 30 พฤษภาคม 2566, จาก: https://today.line.me/th/v2/article/3YlnOB    เรียบเรียงโดย: นางสาวปริศนา ตุ้มชัยพร บรรณารักษ์ชำนาญการ  ถ่ายภาพประกอบโดย: นายเอก เจียมพุก นักวิชาการโสตทัศนศึกษา หอสมุดดนตรีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 และห้องสมุดดนตรีทูลกระหม่อมสิรินธร สำนักหอสมุดแห่งชาติ  


         ตราสัญลักษณ์พระราชพิธีบรมราชาภิเษก  พุทธศักราช ๒๕๖๒          เทคนิค : สลักดุนโลหะ  ปิดทอง ลงยาสี  และประดับคริสตัล          กลุ่มงานช่างบุและช่างศิราภรณ์  กลุ่มประณีตศิลป์  สำนักช่างสิบหมู่  กรมศิลปากร          ผลงานศิลปกรรมจัดสร้างโดย สำนักช่างสิบหมู่  กรมศิลปากร  จัดแสดงในนิทรรศการพิเศษ “เถลิงรัชช์หัตถศิลป์” ณ พระที่นั่งอิศราวินิจฉัย พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร  ระหว่างวันที่ ๙ มิถุนายน – ๑๗ กันยายน ๒๕๖๖  เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. วันพุธ          วันอาทิตย์ (ปิดวันจันทร์ – วันอังคาร)           ความหมายตราสัญลักษณ์พระราชพิธีบรมราชาภิเษก  พุทธศักราช  ๒๕๖๒           อักษรพระปรมาภิไธย วปร. (อยู่ตรงกลาง) พื้นอักษรสีขาวขอบเดินทอง  อันเป็นสีของวันจันทร์ซึ่งเป็นวันพระบรมราชสมภพ ภายในอักษรประดับเพชร  ตามความหมายแห่งพระนามมหาวชิราลงกรณ อักษร วปร. อยู่บนพื้นสีขาบ (น้ำเงินเข้ม) อันเป็นสีของขัตติยกษัตริย์  ภายในกรอบพุ่มข้าวบิณฑ์สีทองสอดสีเขียว อันเป็นสีซึ่งเป็นเดชแห่งวันพระบรมราชสมภพ  กรอบทรงพุ่มข้าวบิณฑ์อัญเชิญมาจากกรอบที่ประดิษฐานพระมหาอุณาโลม  อันเป็นพระราชลัญจกรประจำพระองค์  พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช  ปฐมกษัตริย์แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์  แวดล้อมด้วยเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ์  อันเป็นเครื่องประกอบพระบรมราชอิสริยยศของพระมหากษัตริย์และเป็นเครื่องหมายแห่งความเป็นสมเด็จพระบรมราชาธิราช  ได้แก่ พระมหาพิชัยมงกุฎพร้อมอุณาโลมประกอบเลขมหามงคลประจำรัชกาล  อยู่เบื้องบนพระแสงขรรค์ชัยศรีกับพระแส้จามรีทอดไขว้อยู่เบื้องขวา  ธารพระกรกับพัดวาลวิชนี  ทอดไขว้อยู่เบื้องซ้าย และฉลองพระบาทเชิงงอนอยู่เบื้องล่าง        พระมหาพิชัยมงกุฎ  หมายถึง  ทรงรับพระราชภาระอันหนักยิ่งของแผ่นดิน  เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน        พระแสงขรรค์ชัยศรี  หมายถึง  ทรงรับพระราชภาระปกป้องแผ่นดินให้พ้นจากภยันตราย      ธารพระกร  หมายถึง  ทรงดำรงราชธรรมเพื่อค้ำจุนบ้านเมืองให้ผาสุกมั่นคง      พระแส้จามรีกับพัดวาลวิชนี  หมายถึง ทรงขจัดปัดเป่าความทุกข์ยากเดือดร้อนของอาณาประชาราษฎร์      ฉลองพระบาทเชิงงอน  หมายถึง  ทรงทำนุบำรุงปวงประชาทั่วรัฐสีมาอาณาจักร          เบื้องหลังพระมหาพิชัยมงกุฎ : ประดิษฐานพระมหาเศวตฉัตรอันมีระบายขลิบทอง จงกลยอดฉัตรประกอบรูปพรหมพักตร์อันวิเศษสุด  ระบายชั้นล่างสุดห้อยอุบะจำปาทอง แสดงถึงพระบารมีและพระบรมเดชานุภาพที่ปกแผ่ไปทั่วทิศานุทิศ          เบื้องล่างกรอบอักษรพระปรมาภิไธย : มีแถบแพรพื้นสีเขียวถนิมทองขอบขลิบทอง  มีอักษรสีทองความว่า "พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒" ปลายแถบแพรเบื้องขวามีรูปคชสีห์กายม่วงอ่อน  ประคองฉัตร ๗ ชั้น หมายถึงข้าราชการฝ่ายทหาร          เบื้องซ้าย : มีรูปราชสีห์กายขาวประคองฉัตร ๗ ชั้น หมายถึง ข้าราชการฝ่ายพลเรือน ผู้ปฏิบัติราชการสนองงานแผ่นดินอยู่ด้วยกัน  ข้างคันฉัตรด้านในทั้งสองข้างมีดอกลอยกนกนาค  แสดงถึงปีมะโรงนักษัตรอันเป็นปีพระบรมราชสมภพ  สีทองหมายถึงความเจริญรุ่งเรืองยิ่งของประเทศชาติและประชาชน     สามารถรับชมขั้นตอนการจัดสร้าง ได้ทาง YouTube ตามลิ้งค์ด้านล่าง https://youtu.be/gvMjzRrxWi8



ชื่อเรื่อง: มูลเหตุแห่งการสร้างวัดในประเทศสยาม ผู้แต่ง: สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพปีที่พิมพ์: พ.ศ.๒๕๐๔สถานที่พิมพ์: พระนครสำนักพิมพ์: ศิวพรจำนวนหน้า: ๔๘ หน้า เนื้อหา: "มูลเหตุแห่งการสร้างวัดในประเทศสยาม" สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้ทรงนิพนธ์ขึ้นเป็นปาฐกถาและแสดง        ณ สถานสามัคยาจารย์สมาคม เมื่อวันที่ ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๗๑ โดยกรมศิลปากรพิมพ์แจกในงานกฐินพระราชทาน ณ วัดกาญจนสิงหาศน์              เมื่อวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๐๔ ปาฐกถาเรื่องนี้ทรงนิพนธ์ขึ้นด้วยพระปรีชาญาณ และทรงอ้างหลักฐานไว้ตลอดเรื่อง ซึ่งทรงยกหลักฐานและลำดับเหตุการณ์มาทรงบรรยายให้เห็นเป็นยุคสมัย อาทิ ว่าด้วยประวัติการสร้างพุทธเจดีย์และอนุสาวรีย์เจดีย์ ว่าด้วยพระพุทธศาสนามาประดิษฐานในประเทศสยาม ว่าด้วยการสร้างวัดในสมัยทวาราวดี ว่าด้วยการสร้างวัดในสมัยลพบุรี สมัยเชียงแสน และสมัยสุโขทัย ว่าด้วยคตินิยมการสร้างวัดในปัจจุบัน เป็นต้น นับว่าเป็นประโยชน์ทั้งในด้านการศึกษาประวัติศาสตร์ โบราณคดี และใช้เป็นแนวทางในการบำรุงรักษา ปรับปรุงและอนุรักษ์วัดวาอารามของชาติ เลขทะเบียนหนังสือหายาก: ๖๗๔เลขทะเบียนหนังสืออิเล็กทรอนิกส์: E-book ๒๕๖๖_๐๐๑๑หมายเหตุ: โครงการจัดเก็บและอนุรักษ์หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ สื่อโสตทัศนวัสดุ และเอกสารโบราณ หอสมุดแห่งชาติรัชมังคลาภิเษก เชียงใหม่ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖




           สำนักศิลปากรที่ ๗ เชียงใหม่ จัดกิจกรรมเสวนาทางวิชาการ “โบราณคดีเสวนา ประตูช้างเผือก” ร่วมรับฟังองค์ความรู้จากการดำเนินงานขุดค้น - ขุดแต่งทางโบราณคดีประตูช้างเผือก และการเสวนาแลกเปลี่ยนรับฟังความคิดเห็นต่อแนวทางการอนุรักษ์ และพัฒนาโบราณสถานประตูช้างเผือก ในวันพุธที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๖๗ เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๖.๓๐ น. ขอเชิญชวนผู้สนใจติดตามรับชมผ่านทาง Facebook Live สำนักศิลปากรที่ ๗ เชียงใหม่ และ Archaeology 7 Chiang Mai


Messenger