ค้นหา

รายการที่พบทั้งหมด 41,555 รายการ


ชื่อเรื่อง                     พระราชพงศาวดาร  ฉบับพระราชหัตถเลขาครั้งที่พิมพ์                 6ผู้แต่ง                       -ประเภทวัสดุ/มีเดีย       หนังสือหายากหมวดหมู่                   ประวัติศาสตร์ทวีปเอเชีย เลขหมู่                      959.303 พ375พตสถานที่พิมพ์               พระนครสำนักพิมพ์                 โรงพิมพ์ศิวพร ปีที่พิมพ์                    2511ลักษณะวัสดุ               950 หน้า หัวเรื่อง                     ไทย -- ประวัติศาสตร์ -- กรุงศรีอยุธยาภาษา                       ไทยบทคัดย่อ/บันทึกเนื้อหากล่าวถึง ตำนานหนังสือพระราชพงศาวดาร, อธิบายเหตุการณ์เมื่อก่อนสร้างกรุงศรีอยุธยา, พงศาวดารสยามเมื่อก่อนพระเจ้าอู่ทองสร้างกรุงศรีอยุธยา, ประวัติขอม, ประวัตไทย, ประวัติพม่า, พงศาวดารของพระเจ้าอู่ทอง, ประวัติอาณาจักรสุโขทัย, ประวัติอาณาจักรลานนาไทย, สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 จนถึงรัชกาลที่ 1 กรุงรัตนโกสินทร์ ในจุลศักราช 1152 (พ.ศ.2333) จัดเป็นหนังสือสำคัญทางด้านประวัติศาสตร์ของไทย


คงเดช ประพัฒน์ทอง.  โบราณคดีประวัติศาสตร์.  กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2529.


รายละเอียด  ข้อพึงระวังและข้อควรรู้ สำหรับหน่วยงานในสังกัด



วันพฤหัสบดีที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๖๒ สำนักศิลปากรที่ ๑๐ นครราชสีมา เข้าร่วมกิจกรรมส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่ "สุขสันต์ถ้วนหน้า เบิกฟ้าปีหนูทอง" พุทธศักราช ๒๕๖๓ ในการนี้สำนักฯได้จัดซุ้มอาหารเพื่อบริการให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรม ณ โรงละครแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร


อยากทราบว่ารับนักศึกษาฝึกงานหรือเปล่าครับ ผมเรียน วัฒนธรรม สาขา ประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณดคี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ครับ 


พบเครื่องถ้วยชามลายน้ำทอง มีพระบรมฉายาลักษณ์ ร.5 ที่กาน้ำ และจาน ไม่ทราบว่ามีจริงหรือไม่ เนื่องจากไม่เคยเห็นในหนังสือ รวมทั้งภาพใน Internet ขอทราบรายละเอียดด้วยครับ


แบบฟอร์มบัญชีส่งมอบเอกสารประกอบด้วย ๑. บัญชีส่งมอบหนังสือราชการอายุครบ ๒๐ ปี ๒. บัญชีหนังสือขอลำลาย หน่วยงานราชการทุกหน่วยงานสามารถดาวน์โหลดเพื่อนำไปใช้งานได้ หากมีข้อสงสัย ติดต่อได้ที่โทร. 045285522


วัสดุ สำริด แบบศิลปะ ศิลปะเขมรในประเทศไทย อายุสมัย อายุราวพุทธศตวรรษที่ 18 สถานที่พบ ขุดพบที่บ้านมะอึ อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด คุณวิชา ตระกูลการ มอบให้ ประทับยืน พระพักตร์เหลี่ยม พระนลาฏกว้าง พระขนงต่อเป็นปีกกา พระเนตรมองตรง พระนาสิกโด่ง พระโอษฐ์แย้มเป็นเส้นตรง สวมกระบังหน้าตกแต่งเป็นลวดลายกลีบขนาดเล็ก สวมมงกุฎทรงกรวยยอดมนไม่มีลวดลาย พระเศียรด้านหลังเป็นลายเส้นตรงคล้ายเส้นผม สวมกุณฑล กรองศอ พาหุรัด ทองกร ไม่สวมเสื้อ พระหัตถ์ทั้งสองถือดอกบัวยื่นออกมาด้านหน้าขนานกัน นุ่งผ้าเป็นริ้วยาวประมาณพระชงฆ์ คาดเข็มขัด ขอบผ้านุ่งเว้าลงบริเวณพระนาภี สันนิษฐานว่าเป็นนางปรัชญาปารมิตา


เครื่องหมายหยิน-หยาง                            สัญลักษณ์ประจำลัทธิเต๋า อันหมายถึง อำนาจที่มีบทบาทต่อกันของจักรวาลนักปราชญ์           ชาวจีนเชื่อว่า หยิน-หยาง เป็นตัวแทนของพลังแห่งจักรวาล ๒ ด้าน กล่าวกันว่า เครื่องหมายหยิน           และหยางนี้พัฒนามาจากปรากฎการณ์ทางธรรมชาติของจักรวาล                          สีดำคือ หยิน หมายถึง ดวงจันทร์ เป็นตัวแทนของการเต็มใจ รับหรือยอมเป็นฝ่ายถูกกระทำ           เป็นพลังแห่งสตรีเพศ ความเยือกเย็น การหยุดนิ่ง การเคลื่อนลงต่ำ การเก็บรักษา การยับยั้ง                          ส่วนสีขาวคือ หยาง หมายถึง ดวงอาทิตย์ อันเป็นสัญลักษณ์ของพลังแห่งบุรุษเพศ           การเคลื่อนไหว ความกระตือรือร้น การเคลื่อนขึ้นไปด้านบน การเจริญเติบโต เจริญรุ่งเรือง ความร้อนแรง                          ดังนั้น สัญลักษณ์หยิน-หยาง จึงแทนความสมดุลของพลังในจักรวาล                              เมื่อพิจารณาถึงคุณสมบัติของอำนาจหยินและหยาง ไม่มีวันที่จะเหมือนกันได้ แต่เมื่อ             ทั้งสองรวมกันแล้วก็จะเกิดความสมดุล ความพอดี หากมีพลังหยินมากเกินไป ทุกสิ่งทุกอย่าง             จะสงบนิ่งมากเกินไปจนดูกลายเป็นความเฉื่อยชา และถ้ามีพลังด้านหยางมากเกินไป              ทุกสรรพสิ่งก็จะเปลี่ยนมาเป็นความก้าวร้าว ความรุนแรง ซึ่งจะทำให้เกิดความโกลาหลขึ้นได้                           หยาง นั้นเปรียบได้กับ ผู้ชาย ส่วนหยินนั้นเป็น หญิง หยางไม่อาจเติบโตขึ้นได้หาก             ปราศจากหยิน และหยินเองก็ไม่อาจให้กำเนิดชีวิตใหม่ได้หากปราศจากหยาง                       โดยทั่วไปแล้วสัญลักษณ์หยิน-หยาง เป็นตัวแทนของปรากฏการณ์สวรรค์ตามความเชื่อ             ของชาวจีนโบราณ ซึ่งประกอบไปด้วยการโคจรของดวงอาทิตย์ ฤดูกาลทั้ง ๔ และปฏิทินจีน                          ข้อมูลจาก       หนังสือนัยแห่งสัญลักษณ์                                    http://www.oknation.net/blog/miharu/2008/01/22/entry-13              ภาพประกอบ                                    http://wowboom.blogspot.com/2011/03/yin-and-yang.html                                            http://www.khalong.com/amulet/index.php/pshop/viewshop/37                                    http://www.photonovice.com/    



กล่าวถึงการเสด็จประพาสหัวเมืองต่าง ๆ ในแหลมมลายู อาทิ เกาะพงัน เมืองสงขลา เมืองกลันตัน ตรังภานู สายบุรี นครศรีธรรมราช เป็นต้น เป็นการเสด็จประพาส 3 ครั้ง คือ เมื่อรัตนโกสินทรศก 117, 118 และ 119