ค้นหา

รายการที่พบทั้งหมด 41,561 รายการ

ธรรมธิเบศ, เจ้าฟ้า. พระมาลัยคำหลวง. พระนคร : กรมศิลปากร, 2509.               พระมาลัยคำหลวง นี้ ได้ตีพิมพ์ครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2478 ซึ่งพระยาอนุมานราชธนได้เขียนคำนำอธิบายไว้ในฉบับพิมพ์นั้นว่า "พระมาลัยคำหลวง" นี้ เข้าใจว่าเป็นนิพนธ์ของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศ เพราะปรากฏในต้นฉบับไทยตัวเขียน ซึ่งมีอยู่ในหอสมุดแห่งชาติหลายฉบับ จดไว้ว่าพระมาลัยคำหลวง และฉบับหนึ่งกล่าวเป็นคำโคลง ไว้ว่า                                                                                               สมุดมาลัยเลิศล้ำ             ลิลิต                                                                                     กรมพระราชวังคิด                        ว่าไว้                                                                                     จบเสร็จเรื่องราวประดิษฐ์                (ประดับ?) แต่ง                                                                                     เพราะพร่ำทำยากได้                      (แจ่มแจ้ง?) ใจจริง                และได้ความในบทสุดท้ายของพระมาลัยคำหลวงนี้เองว่า                                                                                                 "เมื่อเสร็จศักราชได้            สองพัน                                                                                      สองร้อยแปดสิบสรร                      เศษหล้า"



ผู้แต่ง : กรมศิลปากร ฉบับพิมพ์ : พิมพ์ครั้งที่ 3 สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์ : กรมศิลปากร ปีที่พิมพ์ : 2517 หมายเหตุ : พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พันเอกนายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์) ป.จ., ม.ป.ช., ม.ว.ม.               เป็นหนังสือที่ให้ความรู้เกี่ยวกับหน้าที่ ขนบธรรมเนียม ประเพณี และข้อที่บรรดามหาดเล็กพึงปฏิบัติต่าง ๆ ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาและสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ขนบธรรมเนียมและกิจพิธีต่าง ๆ ที่ปรากฏในหนังสือเล่มนี้ ปัจจุบันบางอย่างได้เปลี่ยนแปลงไปบ้างตามกาลสมัย


องค์ความรู้ เรื่อง ธรรมจักร จากเมืองศรีเทพจัดทำโดย พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง





ชื่อเรื่อง                     สุวรรณสามชาดก (จากนิบาตชาดก เล่ม 19 มหานิบาต)ผู้แต่ง                       พระยาอนุมานราชธนผู้แต่งเพิ่ม                   กรมศิลปากรประเภทวัสดุ/มีเดีย       หนังสือหายากหมวดหมู่                   ศาสนาพุทธเลขหมู่                      294.3184 ช512สนสถานที่พิมพ์               ม.ป.ทสำนักพิมพ์                 ม.ป.พปีที่พิมพ์                    2509ลักษณะวัสดุ               110 หน้า หัวเรื่อง                     นิบาตชาดก                              ชาดก        ภาษา                       ไทยบทคัดย่อ/บันทึก                   เรื่องสุวรรณสามชาดก เป็นชาดกเรื่องที่ 539 อยู่ในหนังสือนิบาตชาดกเล่ม 19 มหานิบาต แสดงเรื่องราวเมื่อพระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระสุวรรณสามบำเพ็ญเมตตาบารมี และแสดงความกตัญญูกตเวที เลี้ยงดูบิดามารดาผู้จักษุพิการ เมื่อถูกพระเจ้าปิลยักษ์ยิงด้วยธนูได้รับทุกขเวทนาอย่างสาหัสก็ไม่โกรธ ภายหลังได้ถวายโอวาทแด่พระเจ้าปิลยักษ์ ให้ทรงตั้งอยู่ในทศพิธราชธรรม จัดพิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ รองอมาตย์เอกหลวงนนทแพทย์พิสนต์ ต.ช.,ต.ม. (จันทร์ วาจานนท์) ณ ฌาปนสถานวัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ.2509    




ชื่อผู้แต่ง           - ชื่อเรื่อง            คำปราศรัย ของ ฯพณฯ จอมพล ป.พิบูลสงคราม ครั้งที่พิมพ์         - สถานที่พิมพ์       ถนนราชดำเนิน สำนักพิมพ์         โรงพิมพ์บริษัทไทยบริการ จำกัด ปีที่พิมพ์            ๒๔๙๘ จำนวนหน้า        ๓๐ หน้า หมายเหตุ          เนื่องในโอกาสปิดสมัยประชุมสามัญแห่งสภาผู้แทนราษฏร พ.ศ. ๒๔๙๘ และคำกล่าวตอบของ พล.อ.พระประจนปัจจนึกประธานสภาผู้แทนราษฎร


เลขทะเบียน : นพ.บ.129/11ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ :  46 หน้า ; 4.8 x 50 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา  ชื่อชุด : มัดที่ 75 (275-287) ผูก 11 (2564)หัวเรื่อง : ธฺมมปทวณฺณนา ธฺมฺมปทฎฺฐกถา ขุทฺกนิกายฎฺฐกถา (ธมฺมบท)--เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


กฏหมายและหมอดู ชบ.ส. ๑๔ เจ้าอาวาสวัดวิเวการาม ต.บางพระ อ.ศรีราชา จ.ฃลบุรี มอบให้หอสมุด ๑๙ ก.ค. ๒๕๓๕ เอกสารโบราณ (สมุดไทย)


สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม (สังคิณี-มหาปัฎฐาน) เลขที่ ชบ.บ.19/1-3 เอกสารโบราณ (คัมภีร์ใบลาน)


องค์ความรู้ทางวิชาการเรื่อง... รอยพระพุทธบาทที่พระธาตุเชิงชุม โดย นางสาวเบญจพร คล้ายเกตุ นักโบราณคดีปฏิบัติการ สำนักศิลปากรที่ ๘ ขอนแก่น กรมศิลปากร


ชื่อผู้แต่ง                  คณะกรรมการจัดงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ ชื่อเรื่อง                   วงวรรณกรรม ครั้งที่พิมพ์               -  สถานที่พิมพ์              กรุงเทพมหานคร  สำนักพิมพ์                ไทยวัฒนาพานิช ปีที่พิมพ์                    ๒๕๑๗    จำนวนหน้า              ๑๒๒  หน้า  คณะกรรมจัดงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๑๗ เห็นควรที่จะจัดพิมพ์หนังสือเล่มนี้ขึ้น เพื่อเผยแพร่เรื่องราวและความคิดเห็นเกี่ยวกับหนังสือ และการแต่งหนังสือ อันเป็นวัตถุประสงค์ของการจัดงาน เพื่อส่งเสริมการผลิต และการอ่านหนังสือมากขึ้น จึงได้คัดเลือกเรื่องที่น่าสนใจ ๕ เรื่อง ที่หาอ่านได้ยากและมีคุณค่าทางวรรณกรรม รวบรวมอยู่ในหนังสือเล่มนี้