ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 41,561 รายการ
ชื่อเรื่อง ท้องถิ่นบางบัวทอง
ผู้แต่ง พิศาล บุญผูก
ประเภทวัสดุ/มีเดีย หนังสือท้องถิ่น
ISBN/ISSN 978-616-505-444-7
หมวดหมู่ ประวัติศาสตร์
เลขหมู่ 959.312 พ757ท
สถานที่พิมพ์ นนทบุรี
สำนักพิมพ์ โครงการบริการวิิชาการแก่สังคม สำนักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ปีที่พิมพ์ 2554
ลักษณะวัสดุ 262 หน้า : ภาพประกอบ ; 24 ซม.
หัวเรื่อง บางบัวทอง (นนทบุรี) – ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว
บางบัวทอง (นนทบุรี) – ประวัติ
บางบัวทอง (นนทบุรี) – ความเป็นอยู่และประเพณี
ตำบล – ไทย – นนทบุรีภาษา ไทยบทคัดย่อ/บันทึก หนังสือ “ท้องถิ่นบางบัวทอง” รวบรวมเรื่องราวอันเกี่ยวกับท้องถิ่นที่ตั้งของอำเภอบางบัวทอง
ชื่อเรื่อง สพ.บ.424/6 พระเจ้าห้าสิบชาติ (ห้าสิบชาติ)
สพ.บ. 424/6
ประเภทวัดุ/มีเดีย คัมภีร์ใบลาน
หมวดหมู่ พุทธศาสนา
ลักษณะวัสดุ 52 หน้า : กว้าง 5 ซม. ยาว 57 ซม.
หัวเรื่อง พุทธศาสนา
เทศน์มหาชาติ
บทคัดย่อ/บันทึก
เป็นคัมภีร์ใบลาน ฉบับล่องชาต ได้รับบริจาคมาจากวัดลานคา ต.โคกคราม อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี
ส่งเสริมการอ่านผ่าน Facebook กับหอสมุดแห่งชาติชลบุรี
เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ๓ มิถุนายน ๒๕๖๖
เรื่อง กระเป๋าจักสานย่านลิเภา : สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ทรงถือในการเสด็จพระราชดำเนินเยือนสหราชอาณาจักร
Wiang Nong Lom Culture Heritage Public Relations Media Project
Mae Chan District and Chiang Saen District, Chiang Rai Province
ชื่อเรื่อง จิตรกรรมฝาผนัง จังหวัดสุพรรณบุรีผู้แต่ง กรมศิลปากรประเภทวัสดุ/มีเดีย หนังสือท้องถิ่นISBN/ISSN 974-417-740-3หมวดหมู่ จิตรกรรม ภาพเขียน เลขหมู่ 751.73 จ434สถานที่พิมพ์ นนทบุรีสำนักพิมพ์ บริษัท ไซเบอร์ ร็อค เอเยนซี่ กรุ๊ป จำกัดปีที่พิมพ์ 2548ลักษณะวัสดุ 132 หน้า : ภาพประกอบ ; 29 ซม.หัวเรื่อง วัด--จิตรกรรม—ภาพเขียน จิตรกรรมฝาผนังไทยภาษา ไทยบทคัดย่อ/บันทึก จัดทำขึ้นเพื่อรวบรวมจิตรกรรมฝาผนังที่สำคัญของจังหวัดสุพรรณบุรี เช่น จิตรกรรมฝาผนังวัดหน่อพุทธางกูร จิตรกรรมฝาผนังวัดประยูรสาร จิตรกรรมฝาผนังวัดจรรย์ จิตรกรรมฝาผนังวัดเดิมบาง จิตรกรรมฝาผนังแต่ละแห่ง กล่าวถึงภูมิหลังประวัติความเป็นมาของวัด บันทึกเรื่องราวและภาพถ่ายของจิตรกรรมฝาผนังทางศาสนาเป็นสำคัญ นอกจากนี้ยังมีทะเบียนจิตรกรรมฝาผนังของจังหวัดสุพรรณบุรีแนบท้ายเล่ม
พร้อมแล้ว ! สำหรับงานวันเด็กแห่งชาติ วันเสาร์ที่ 13 มกราคม 2567
วันศุกร์ที่ 15 ธันวาคม 2566 นางสาวเมษา ครุปิติ ผอ. หอสมุดแห่งชาติฯ จันทบุรี เป็นประธานการประชุมจัดงานวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี 2567 โดยมีวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดจันทบุรี และสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดจันทบุรี ร่วมจัดงาน มีกิจกรรมมากมาย
จัดบริเวณด้านหน้าหอสมุด ภายในอาคาร ในห้องบริการ และสนามกลางภายในอาคาร มีกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน กิจกรรมนันทนาการ สนุกสนานกับเกมต่างๆ เช่น ตอบปัญหาชิงรางวัล ระบายสีภาพ เกมลูกโป่ง เต้นประกอบเพลง ลานศิลปวัฒนธรรม งานศิลปะร่วมสมัย ฯลฯ
โดยวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ได้จัดมุมศุนย์พัฒนาเด็กเล็ก กิจกรรม "พัฒนาเด็กดี วิถีไทย" นอกจากให้เด็กๆได้สนุกสนานแล้ว ยังมีการตรวจสุขภาพ ชั่งน้ำหนักเด็กเล็ก เพื่อให้คำแนะนำในการดูแลสุขภาพด้วย
ขอเชิญเด็กๆ เยาวชนของชาติ พ่อแม่ ผู้ปกครอง มาเที่ยวงานวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี 2567 ที่หอสมุดแห่งชาติฯ จันทบุรี ในวันเสาร์ที่ 13 มกราคม 2567 เวลา 08.00 น. เป็นต้นไป สำหรับหน่วยงาน ร้านค้า หรือผู้มีจิตศรัทธาบริจาคเงินและสิ่งของได้ที่หอสมุดแห่งชาติฯ จันทบุรี โทร.039-321211 ต่อ 17
เนื่องในโอกาสที่เมืองโบราณศรีเทพได้รับการประกาศขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ขอนำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับโบราณวัตถุจากเมืองศรีเทพที่เก็บรักษาอยู่ในพิพิธภัณฑ์ เรื่อง "์เทวรูปพระกฤษณะ ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสมเด็จพระนารายณ์" ซึ่งจัดแสดงประกอบนิทรรศการตามรอยศรีเทพ เมืองมรดกโลก
...เรายังมีโบราณวัตถุจากเมืองศรีเทพอีก ๑ ชิ้น อยากรู้ว่าคืออะไร โปรดติดตามต่อไป...
องค์ความรู้ เรื่อง 3 กุมภาพันธ์ วันทหารผ่านศึก
เรียบเรียง : วารุณี วิริยะชูศรี บรรณารักษ์
สีฝัดหรือเครื่องฝัดข้าว ใช้แยกเมล็ดข้าวที่ไม่มีเนื้อหรือขี้ลีบให้ออกจากเมล็ดข้าวดี มีรูปทรงคล้ายกล่องมีขา 4 ขา ทำด้วยไม้ ด้านหนึ่งลักษณะกลมมน อีกด้านหนึ่งโปร่งด้านบนทำเป็นช่องสำหรับใส่ข้าวเปลือกเพื่อให้ไหลลงสู่ตะแกรงเหล็ก ส่วนที่มีลักษณะกลมมนภายในมีใบพัดที่สามารถหมุนด้วยมือ เพื่อพัดขี้ลีบให้ให้ปลิวออกไป ข้าวที่มีน้ำหนักดีจะตกลงสู่รางที่รองอยู่ด้านล่าง
เมื่อนวดข้าวเปลือกให้หลุดออกจากรวงแล้ว มักมีเศษฟาง ขี้ลีบหรือเมล็ดข้าวที่ไม่สมบูรณ์ รวมทั้งฝุ่นละอองและสิ่งอื่นๆ เจือปนอยู่ด้วย จำเป็นต้องฝัดข้าวเปลือกเพื่อนำสิ่งที่ไม่ต้องการออกจากเมล็ดข้าวดี ดังนั้น สีฝัดจึงเป็นเครื่องมือสำคัญอย่างยิ่งที่ใช้ในการทำนาในบริเวณภาคกลาง
สีฝัด เป็นเครื่องใช้พื้นบ้านที่ทำขึ้นจากความคิดและใช้เทคโนโลยีที่ไม่ซับซ้อน แต่สามารถอำนวยประโยชน์ต่อการใช้สอยได้เป็นอย่างดี
อ้างอิง
วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. พจนานุกรมหัตถกรรมและอุตสาหกรรมพื้นบ้าน. กรุงเทพฯ : บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย, 2532.
Significant Object of the Thai Farmers National Museum, Suphan Buri Province
Rice-Winnowing Machine
The rice-winnowing machine is used for separated the atrophy rice grains (incomplete seeds) from the perfect grains. It made into a wooden box with four legs, one side with oval edge, another without, on the top a tray leading to the siever where a fan operated manually in blowing away all the unwanted particles such as dirt, empty grain and hay, leaving only the perfect grains which gradually fall through the siever into the waiting container below, then accumulate at the front of the winnower.
A rice winnower is local creative device with uncomplicated structure and easy implementation, yielding the best results.
หนึ่งในจารีตประเพณีจีนที่ราชสำนักไทยสมัยรัตนโกสินทร์จัดขึ้นอย่างพระราชพิธีหลวง คือ "พระราชพิธีสังเวยพระป้าย" ตามอย่างธรรมเนียมการเซ่นไหว้บูชาป้ายบรรพบุรุษของจีนในวันตรุษจีน
พระราชพิธีนี้มีความเป็นมาอย่างไร อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ในองค์ความรู้เรื่อง "พระราชพิธีในราชสำนักไทยเนื่องในเทศกาลตรุษจีน" ค้นคว้าเรียบเรียงโดย พลอยชมพู ยามะเพวัน นักอักษรศาสตร์ชำนาญการ กลุ่มจารีตประเพณี สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์
เมื่อวันที่ ๑๗ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๐๗พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เสด็จพระราชดำเนินไปทรงประกอบพิธีเปิดเขื่อนภูมิพล อำเภอสามเงา จังหวัดตากรหัสเอกสาร ภ หจภ (๓) กษ ๑.๑/๗