ค้นหา

รายการที่พบทั้งหมด 41,393 รายการ


***บรรณานุกรม*** หนังสือหายาก  พระคัมภีร์ชาดกแปล ฉบับ ส.อ.ส. เล่ม 13 อรรถกถา วีสตินิบาต ภาค 7.  พระนคร : โรงพิมพ์ยิ้มสิริ, ๒๔๙๓.


ชื่อเรื่อง                     ประชุมพงศาวดารเล่ม 38 (ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 64) พงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)ผู้แต่ง                       -ประเภทวัสดุ/มีเดีย       หนังสือหายากหมวดหมู่                   ประวัติศาสตร์ทวีปเอเชียเลขหมู่                      959.303 ล.38สถานที่พิมพ์               พระนครสำนักพิมพ์                 โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าวปีที่พิมพ์                    2512ลักษณะวัสดุ               344 หน้าหัวเรื่อง                     ไทย -- ประวัติศาสตร์ ภาษา                       ไทยบทคัดย่อ/บันทึกประชุมพงศาวดาร เป็นหนังสือที่ให้ประโยชน์อย่างยิ่ง เพราะได้รวบรวมเรื่องเก่าๆ ที่มีสาระและคำอธิบายของผู้มีความรู้ในวิชาด้านทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีของไทย ประชุมพงศาวดารเล่ม 38 ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) เริ่มต้นตั้งแต่แรกสถาปนากรุงเทพทวาราวดีศรีอยุธยาต่อมาจนสุดรัชกาลพระเจ้ากรุงธนบุรี พิมพ์แล้วในประชุมพงศาวดารภาคที่ 64  


ชื่อเรื่อง                     พระราชหัตถเลขา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เล่ม 1ผู้แต่ง                       พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวประเภทวัสดุ/มีเดีย       หนังสือหายากหมวดหมู่                   ประวัติศาสตร์ทวีปเอเชียเลขหมู่                      959.3056 จ196พ  สถานที่พิมพ์               พระนครสำนักพิมพ์                 โรงพิมพ์คุรุสภาปีที่พิมพ์                    2506ลักษณะวัสดุ               332 หน้าหัวเรื่อง                     จดหมาย                              ไทย – ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ – รัชกาลที่ 4ภาษา                       ไทยบทคัดย่อ/บันทึกพระราชหัตถเลข ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ฉบับที่ 1 - ฉบับที่ 8    


ชื่อเรื่อง : หนังสือประวัติต้นตระกูล วงศ์เรือง ผู้แต่ง : พระราชวิสุทธิโสภณ ปีที่พิมพ์ : 2531 สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์ : นีลนาราการพิมพ์           ต้นตระกูลวงศ์เรือง ตั้งอยู่บ้านสางใต้หมู่ 1 ตำบลสาง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา ตั้งมานานกว่า 200 ปี ผูให้กำเนิดต้นตระกูลชื่อ “แสนวงศ์” หรือ “แสนวงศ์เฮือง” ถ้าจะเรียกชื่อเต็มว่า “ปู่แสนวงศ์เฮือง” มักเรียกสั้นว่า “แสนวงศ์” มีภริยาชื่อแม่เฒ่าแสนปั๋น อาจเรียกสั้นๆว่า “แม่เฒ่าปั๋น” เมื่อสามีมีศักดิ์เป็น “แสน” ก็เลยได้สมญาว่า แม่แสนปั๋น ไปด้วยถ้าจะนับตามชั้นบรรพบุรุษก็มีฐานะเป็น “ปู่ทวด” “ย่าทวด” พ่อเฒ่าแสนวงศ์เฮือง ได้สมรสกับแม่เฒ่าแสนปั๋นมีบุตรธิดารวมกัน 5 คน ทราบชื่อแต่ฝ่ายชาย ส่วนฝ่ายหญิงไม่ปรากฏชื่อแน่ชัด  


สาระสังเขป               : การประกวดเรียงความ เนื่องในงานฉลองวันชาติ 2483ผู้แต่ง                       : -โรงพิมพ์                   : ม.ป.พ.ปี่ที่พิมพ์                   : 2483ภาษา                       : ไทยรูปแบบ                     : PDFเลขทะเบียน              : น. 40835เลขหมู่                      : 808.4                                  ค 181



เลขทะเบียน : นพ.บ.27/5ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ :  54 หน้า  ; 4.7 x 53 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 14 (152-160) ผูก 4หัวเรื่อง : ธมฺมปาลชาตก (ธรรมบาล) --เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม




องค์ความรู้ เรื่อง พระไภษัชยคุรุ : พระพุทธเจ้าแห่งการแพทย์ผู้ปลดเปลื้องโรคภัยกับการตีความใหม่ของนักวิชาการในปัจจุบันจัดทำข้อมูลโดย นางสาวนัยนา มั่นปาน ภัณฑารักษ์ปฏิบัติการ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย


ชื่อเรื่อง : ทำเนียบสมณศักดิ์เชียงใหม่ พ.ศ. 2532 ผู้แต่ง : - ปีที่พิมพ์ : 2532 สถานที่พิมพ์ : ม.ป.ท. สำนักพิมพ์ : ม.ป.พ.



โอภาส  เสวิกุล.พรปีใหม่ที่ชาวไทยได้รับพระราชทาน.ขวัญเรือน :สถิตในดวงใจตราบนิจนิรันดร์. 48, (1079) :พฤศจิกายน.2559.  หน้า.  22-24                              ภายในเล่มกล่าวถึงวันขึ้นปีใหม่ว่าเป็นประเพณีที่ทุกชาติ ทุกภาษา ทุกศาสนา และทุกเผ่าพันธุ์ได้ถือปฏิบัติกันมาเป็นประจำทุกปี เพราะมีความเชื่อว่าปีใหม่เป็นการเริ่มต้นในสิ่งที่ดี สำหรับชาวไทยเราในปัจจุบันจะมีสิ่งพิเศษที่รอคอยคือ พรปีใหม่จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในพระบรมโกศ ที่ได้รับพระราชทานเป็นประจำทุกปี  ตั้งแต่วันปีใหม่ พุทธศักราช 2493ทางวิทยุกระจายเสียง รวมทั้งทางโทรทัศน์ในเวลาต่อมา   นอกจากนี้แล้วในวันขึ้นปีใหม่พุทธศักราช 2529   พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงปรุแถบเทเล็กซ์หรือโทรพิมพ์ เป็นบัตร ส.ค.ส.พระราชทานพร และในปีพุทธ-ศักราช 2539ได้ทรงประดิษฐ์บัตร ส.ค.ส.ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยรูปภาพและสีสันที่สวยงามเพื่อพระราชทานแก่พสกนิกร โดยได้ทรงปฏิบัติตลอดทุกปี  และสำหรับพรปีใหม่ที่ พระองค์เจ้าทรงได้พระราชทานในโอกาสขึ้นปีใหม่ทุกครั้ง จะทรงเตือนทุกคนได้เห็นว่าความสุข ความเจริญ ที่ปรารถนานั้น จะเกิดมีขึ้นได้ต้องคิดดีทำดี มีความรักความสามัคคี คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม จึงกล่าวได้ว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในพระบรมโกศ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวในโลกที่ทรงใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุด


สำนักศิลปากรที่ ๑๒ นครราชสีมาจัดนิทรรศการเผยแพร่ความรู้ด้านโบราณคดีและภารกิจของกรมศิลปากรตามคำเชิญของโรงเรียนชุมพวงศึกษา่ในกิจกรรมเปิดรั้วโรงเรียน (open house)ณ โรงเรียนชุมพวงศึกษา จังหวัดนครราชสีมาวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘


Messenger