ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 40,884 รายการ
สรุปผลเบื้องต้นการขุดตรวจสอบทางโบราณคดี แนวกำแพงเมืองเก่าเพชรบุรี
โดย กลุ่มโบราณคดี สำนักศิลปากรที่ ๑ ราชบุรี
พื้นที่ดำเนินการ : บริเวณพื้นที่ริมถนนกำแพงเมืองเก่า ต.ช่องสะแก อ.เมือง จ.เพชรบุรี
ระยะเวลาดำเนินการ : วันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๖๓ – ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓
ชื่อผู้แต่ง มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว,พระบาทสมเด็จพระ
ชื่อเรื่อง ปกิณกคดี
ครั้งที่พิมพ์ พิมพ์ครั้งที่ ๒
สถานที่พิมพ์ กรุงเทพมหานคร
สำนักพิมพ์ บุรินทร์การพิมพ์
ปีที่พิมพ์ ๒๕๑๘
จำนวนหน้า ๒๕๔ หน้า
หมายเหตุ -
หนังสือเรื่องปกิณกคดี เล่มนี้ ได้รวมพิมพ์ในเล่มนี้ประกอบด้วยเรื่องต่างๆ รวม ๘ เรื่อง คือ เมืองไทยจงตื่นเถิด ประโยชน์แห่งการอยู่ในธรรม เปรียบนามสกุลกับชื่อแซ่ หลักราชการ ธรรมนูญลักษณะปกครองคณะนคราภิบาล กฎมนเทียรบาลว่าด้วยครอบครัวแห่งข้าราชการในพระราชสำนัก ยุทธภัยและความเป็นชาติโดยแท้จริง
เลขทะเบียน : นพ.บ.114/5ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 32 หน้า ; 4.5 x 53 ซ.ม. : ทองทึบ ; ไม้ประกับธรรมดา ฉลากไม้ไผ่ชื่อชุด : มัดที่ 64 (197-203) ผูก 5 (2564)หัวเรื่อง : สตฺตปกรณาภิธมฺม (ธมฺมสงฺคิณี-มหาปฎฺฺฐาน)--เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
เลขทะเบียน : นพ.บ.145/5ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 38 หน้า ; 4.6 x 57 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 88 (368-372) ผูก 5 (2564)หัวเรื่อง : แปดหมื่นสี่พันขันธ์ (8 หมื่น)--เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
เลขทะเบียน : นพ.บ.98/2ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 54 หน้า ; 5 x 57 ซ.ม. : ทองทึบ ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 57 (140-153) ผูก 2 (2564)หัวเรื่อง : ปรมตฺถมญฺชุสาอภิธมฺมตฺถสงฺคหนวฎีกาปรมัตถมัญชุสาร-อนุฎีกาอภิธัมมัตถสัคหะ)--เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม (สังคิณี-มหาปัฎฐาน)
เลขที่ ชบ.บ.15/1-1
เอกสารโบราณ (คัมภีร์ใบลาน)
ชื่อเรื่อง : ความเมืองเรื่องเขาพระวิหารชื่อผู้แต่ง : ประหยัด ศ. นาคะนาท ปีที่พิมพ์ : 2505สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์ : สาส์นสวรรค์ จำนวนหน้า : 1,134 หน้าสาระสังเขป : หนังสือเล่มนี้ได้กล่าวถึงปัญหาเรื่องเขาพระวิหารเป็นที่สนใจของคนไทยแทบทุกคน ผู้ประมวลจึงใคร่จะเสนอข้อเท็จจริงทั้งหมด หรือส่วนมากเท่าที่จะหาได้ มีทั้งหมดสิบบท ทั้งประวัติความเป็นมา สถานที่ตั้งเขาพระวิหาร รวมถึงคำพิพากษาของศาลโลก โดยจะประมวลเอาแต่ข้อเท็จจริงล้วนๆ และหลีกเลี่ยงความคิดเห็นส่วนตัวของผู้ประมวล
องค์ความรู้ จากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำแพงเพชร
เรื่อง หงส์ประดับบนยอดเสา
นอกจากประติมากรรมรูปหงส์ดินเผาแล้ว (อ่านเพิ่มเติมได้ที่องค์ความรู้ เรื่อง ประติมากรรมดินเผารูปหงส์จากโบราณสถานวัดช้างรอบ เมืองกำแพงเพชร) เมืองกำแพงเพชรยังพบประติมากรรมรูปหงส์สำริดลงรักปิดทองที่ใช้ประดับบนยอดเสา โดยมีลักษณะที่สำคัญ ได้แก่ ส่วนหัวมีหงอนสลักลายไทยพลิ้วลู่ลม ลำคอยาวระหง ลำตัวสลักลวดลายเลียนแบบลายของลำแพนหางนกยูง ปีกแผ่กว้าง หางสลักลายกระหนกเปลวอย่างอ่อนช้อย สง่า งดงามทั้งลำตัว ยืนบนฐานบัวหงายซ้อนกลีบอย่างประณีต
หงส์เป็นสัตว์ในจินตนาการและสัตว์ชั้นสูงที่มักปรากฏในวรรณคดี ตำนาน รวมทั้งคติความเชื่อในพระพุทธศาสนาและศาสนาฮินดู สมัยโบราณอาจใช้ห้อยโคมไฟตามทางด้านหน้าอุโบสถของวัดสำคัญและในวัง หรืออาจใช้แขวนตุง (ธง) ซึ่งมักพบอยู่ตามวัดทางภาคเหนือของประเทศไทย ทั้งนี้คงมีคติในการสร้างเพื่อถวายวัดเป็นพุทธบูชา โดยเชื่อว่าจะทำให้เกิดอานิสงส์ผลบุญแก่ผู้สร้างถวายเอง และยังเป็นการอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว
ประติมากรรมรูปหงส์ประดับบนยอดเสาที่พบในจังหวัดกำแพงเพชร ได้แก่ วัดหงษ์ทอง ตำบลสลกบาตร อำเภอขาณุวรลักษบุรี วัดปราสาท ตำบลคณฑี อำเภอเมืองกำแพงเพชร และวัดอัมพาพนาราม (วัดวังไทร) ตำบลวังไทร อำเภอคลองขลุง ซึ่งหงส์ประดับยอดเสาของวัดอัมพาพนารามได้จัดแสดง ณพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำแพงเพชร โดยพระครูบาน บุญญโชโต เจ้าอาวาสวัดอัมพาพนารามขณะนั้น มอบให้เมื่อวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๓๕ กำหนดอายุอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๒๔ – ๒๕ ศิลปะรัตนโกสินทร์
บรรณานุกรม
- กัญญรัตน์ เวชชศาสตร์. การศึกษาเรื่องหงส์จากศิลปกรรมในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : คุรุสภา, ๒๕๕๐.
- ศิลปากร, กรม. นำชมพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำแพงเพชร. กรุงเทพฯ : รุ่งศิลป์การพิมพ์, ๒๕๕๗.
อ่านองค์ความรู้ เรื่อง ประติมากรรมดินเผารูปหงส์จากโบราณสถานวัดช้างรอบ เมืองกำแพงเพชร ได้ที่ https://www.facebook.com/pg/prfinearts/photos/?tab=album&album_id=3198198046914284
องค์ความรู้ สรรพสาระ อยุธยา... เนื่องในวันอนุรักษ์ มรดกไทย พุทธศักราช ๒๕๖๔ เรื่อง “แนวทางการรักษาโบราณสถาน อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา” เรียบเรียงโดย นายวีระศักดิ์ แสนสะอาด นักโบราณคดีชำนาญการ อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา
สำนักการสังคีต ขอเชิญชมละครเสภา เรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนพระไวยแตกทัพ วันเสาร์ที่ ๒๗ และวันอาทิตย์ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ และวันเสาร์ที่ ๑๑ และวันอาทิตย์ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๔ เวลา ๑๔.๐๐ น. ณ โรงละครแห่งชาติ นำแสดงโดย ศิลปินสำนักการสังคีต กำกับการแสดงโดย ปกรณ์ พรพิสุทธิ์ บัตรราคา ๒๐๐, ๑๕๐, ๑๐๐ บาท เริ่มจำหน่ายบัตร วันพุธที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ ณ ห้องจำหน่ายบัตร โรงละครแห่งชาติ (เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๕.๓๐ น.) และจำหน่ายบัตรออนไลน์ที่ https://ntt.finearts.go.th สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม (วันและเวลาราชการ) โทร. ๐ ๒๒๒๔ ๑๓๔๒ และ ๐ ๒๒๒๑ ๐๑๗๑