ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 40,867 รายการ
ชื่อเรื่อง : หนังสือประเพณีทำบุญล้านนา
ผู้แต่ง : พระเทพวิสุทธิเวที
ปีที่พิมพ์ : ม.ป.ป.
สถานที่พิมพ์ : พะเยา
สำนักพิมพ์ : เจริญอักษรการพิมพ์
ต้นตระกูลวงศ์เรือง ตั้งอยู่บ้านสางใต้หมู่ 1 ตำบลสาง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา ตั้งมานานกว่า 200 ปี ผูให้กำเนิดต้นตระกูลชื่อ “แสนวงศ์” หรือ “แสนวงศ์เฮือง” ถ้าจะเรียกชื่อเต็มว่า “ปู่แสนวงศ์เฮือง” มักเรียกสั้นว่า “แสนวงศ์” มีภริยาชื่อแม่เฒ่าแสนปั๋น อาจเรียกสั้นๆว่า “แม่เฒ่าปั๋น” เมื่อสามีมีศักดิ์เป็น “แสน” ก็เลยได้สมญาว่า แม่แสนปั๋น ไปด้วยถ้าจะนับตามชั้นบรรพบุรุษก็มีฐานะเป็น “ปู่ทวด” “ย่าทวด” พ่อเฒ่าแสนวงศ์เฮือง ได้สมรสกับแม่เฒ่าแสนปั๋นมีบุตรธิดารวมกัน 5 คน ทราบชื่อแต่ฝ่ายชาย ส่วนฝ่ายหญิงไม่ปรากฏชื่อแน่ชัด
สาระสังเขป : เป็นบันทึกประวัติศาสตร์การเมือง เริ่มตั้งแต่วันที่ 8 พ.ย.2490 ถึงปี พ.ศ.2503 เป็นปีสุดท้ายแห่งการตัดสินคดีต่างๆที่ค้างมาแต่สมัยเมื่อจอมพล ป. พิบูลสงคราม และพลตำรวจเอกเผ่า มีอำนาจผู้แต่ง : คทาดำโรงพิมพ์ : โอเดียนการพิมพ์ปีที่พิมพ์ : 2503ภาษา : ไทยรูปแบบ : PDFเลขทะเบียน : น.31บ.13451เลขหมู่ : 923.2593 ค136ฆ
สาระสังเขป : การจัดการประชุมสมาคมประวัติศาสตร์ทางศาสนาทั่วโลกที่มหาวิทยาลัยแคลมองต์ ในลอสแอนเจเลซ ในการประชุมครั้งที่ 11 วันที่ 7-12 ก.ย.ค.ศ.1965ผู้แต่ง : พูนพิศมัย ดิศกุล, หม่อมเจ้าหญิงโรงพิมพ์ : กองการพิมพ์สลากกินแบ่งรัฐบาลปีที่พิมพ์ : 2509ภาษา : ไทยรูปแบบ : PDFเลขทะเบียน : น.32บ.5187จบเลขหมู่ : 910 พ851ย
เลขทะเบียน : นพ.บ.26/3ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 54 หน้า ; 4.5 x 54 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา มีฉลากไม้ชื่อชุด : มัดที่ 13 (138-151) ผูก 3หัวเรื่อง : ธรรมบท --เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
เลขทะเบียน : นพ.บ.45/15ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 44 หน้า ; 4.4 x 54.5 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 27 (267-281) ผูก 14หัวเรื่อง : ธรรมบท --เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
ไกรฤกษ์ นานา.“ช้างบรรณาการ” จากรัชกาลที่ 4 จบชีวิตที่ร้านขายเนื้อกรุงปารีส จริงหรือ ?.ศิลปวัฒนธรรม.(37):11;กันยายน 2559.
ภายในสวนสัตว์ สัตว์ชนิดหายากและเคยมีคุณค่าที่หลงเหลือ เช่น เสือ สิงโต อูฐ ยีราฟ แรด ฯลฯ ค่อย ๆ หายไปทีละตัวสองตัว ในที่สุดเหลือเพียงช้างสองเชือกที่เดินทางไกลมาจากสยาม และเคยเป็นสัญลักษณ์ของมิตรภาพอันดีจากกษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่แห่งเอเชีย
ที่ระลึกฐานแท่น อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารีย์ใหม่ พ.ศ.2510. นครราชสีมา: รวมจิตราชสีมา, 2510.รวบรวมประวัติท้าวสุรนารี ประวัติอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี ความเป็นมาในการสร้างฐานแท่นอนุสาวรีย์ใหม่ พ.ศ.2510 เสียงวิพาก-วิจารณ์ เกี่ยวกับการสร้างฐานแท่นใหม่ของประชาชน ทางหน้าหนังสือพิมพ์ บทความเรื่อง “เมื่อคุณย่าเข้าทรง” และ “วิญญาณคุณย่าโมอีกที” จากหนังสือพิมพ์ชาวอิสาน ในคอลัมภ์ข้อคิดจากสังคม เขียนโดย ลิขิต ประชา และโองการบวงสรวงสังเวยท่านท้าวสุรนารี ในการอัญเชิญ จากฐานแท่นชั่วคราวหน้าศาลากลางจังหวัด มาประทับยังฐานถาวรที่ประตูชุมพล วันที่ 29 พฤศจิกายน 2510920.72ส851ท
วันศุกรที่ ๑๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗นายขจร มุกมีค่า ผู้อำนวยการสำนักศิลปากรที่ ๑๒ นครราชสีมาพร้อมด้วยคณะกรรมการตรวจการจ้าง และผู้ควบคุมงานตรวจรับงานจ้างเหมาบริการกำจัดวัชพืชและสิ่งกีดขวางที่ทำลายโบราณสถาน ในเขตพื้นที่รับผิดชอบณ โบราณสถานในเขตจังหวัดนครราชสีมา