ค้นหา

รายการที่พบทั้งหมด 40,815 รายการ

สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม (สงฺคิณี-มหาปฎฺฐาน) ชบ.บ 168/1 เอกสารโบราณ (คัมภีร์ใบลาน)


#เก๊าไม้เก๊าตอกดอกคำปูจู้ชื่อทางการ : ดอกดาวเรือง          ไม้ล้มลุก ดอกสีเหลืองหรือส้ม ออกเป็นช่อกระจุกเดี่ยวที่ปลายยอด ริ้วประดับเชื่อมกันเป็นรูประฆัง ปลายจักเป็นซี่ฟัน ดอกวงนอกกลับดอกเป็นเป็นรูปรางน้ำ โคนเป็นหลอดเล็ก ปลายแผ่เป็นรูปไข่กลับ ดอกวงในกลีบดอกเป็นหลอด ปลายจักเป็น ๕ ซี่ บางพันธุ์กลีบดอกทั้งหมดเป็นรูปรางน้ำภาพ : หอจดหมายเหตุห่งชาติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เชียงใหม่อ้างอิง : คณะอนุกรรมการจัดทำหนังสือไม้ดอกและไม้ประดับเฉลิมพระเกียรติ ในคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ และ กองทัพบก. ๒๕๓๖. ไม้ดอกและไม้ประดับ. กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์.#เชียงใหม่ #ดอกดาวเรือง #ดอกคำปูจู้


ชื่อเรื่อง                                        สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม  (สงฺคิณี-มหาปฏฺฐาน) อย.บ.                                           21/3ประเภทวัดุ/มีเดีย                          คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่                                     พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ                                42 หน้า : กว้าง 5.2 ซม. ยาว 54.5 ซม.หัวเรื่อง                                       พุทธศาสนาบทคัดย่อ/บันทึก               เป็นคัมภีร์ใบลาน เส้นจาร ฉบับทองทึบ ไม้ประกับธรรมดา ได้รับบริจาคมาจาก จ.พระนครศรีอยุธยา


ชื่อเรื่อง                                        สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม  (สงฺคิณี-มหาปฏฺฐาน) อย.บ.                                           57/2ประเภทวัดุ/มีเดีย                          คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่                                     พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ                                22 หน้า : กว้าง 4.8 ซม. ยาว 56.8 ซม.หัวเรื่อง                                       พุทธศาสนาบทคัดย่อ/บันทึก               เป็นคัมภีร์ใบลาน เส้นจาร ฉบับทองทึบ ได้รับบริจาคมาจาก จ.พระนครศรีอยุธยา



ชื่อผู้แต่ง        วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ชื่อเรื่อง         วิศวกรรมสาร (ปีที่ ๓๐ ฉบับที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๒๐) ครั้งที่พิมพ์     - สถานที่พิมพ์   กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์     สหมิตร ปีที่พิมพ์        ๒๕๒๐ จำนวนหน้า    ๔๘ หน้า รายละเอียด                   วารสารส่งเสริมความรู้ทางวิชาการในด้านวิศวกรรมศาสตร์ และเป็นสื่อกลางในการแสดงความคิดเห็นทางวิชาการเกี่ยวกับวิศวกรรมศาสตร์ อันจะนำไปสู่ความริเริ่มเพื่อขยายงานที่กระทำอยู่ให้กว้างขวาง และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เนื้อหาภายในเล่มประกอบด้วย ๓ บทความ ได้แก่ การกำจัดน้ำเสียจากโรงงานชุบโลหะ โรงงานบริษัทธานินทร์อุตสาหกรรมจำกัด, A Finite Element Formulation For Nonlinear Viscoelastic Analysis of Silage-Silo Interaction และ Creep and Shrinkage Effects in Concrete Structures


          เนื่องด้วยพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย จะดำเนินงานโครงการปรับปรุงส่วนจัดแสดงพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย จึงขอปิดให้บริการเข้าชมอาคารจัดแสดงหลักของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย เริ่มตั้งแต่วันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๖๖ เป็นต้นไป จนกว่าการดำเนินงานจะแล้วเสร็จ           ทั้งนี้ นักท่องเที่ยวยังสามารถเข้าชมอาคารศิลาจำหลัก (คลังเปิด) สถานที่จัดเก็บและจัดแสดงโบราณวัตถุประเภทองค์ประกอบสถาปัตยกรรมที่มีความงดงามจากหลายแห่ง เช่น หน้าบันและทับหลังจากปราสาทเมืองต่ำ หน้าบันจากปราสาทพะโค ทับหลังจากปราสาทพิมาย โดยสามารถเข้าชมได้ฟรี ไม่เสียค่าใช้จ่าย ตั้งแต่เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๖.๐๐ น.///พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย แจ้งขออภัยในความไม่สะดวกมา ณ ที่นี้


ชื่อผู้แต่ง           เพนธ์  ฮันส์ ชื่อเรื่อง             คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปในนครเชียงใหม่ ครั้งที่พิมพ์         - สถานที่พิมพ์      กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์        โรงพิมพ์สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ปีที่พิมพ์            ๒๕๑๙       จำนวนหน้า       ๔๔๖ หน้า    คำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปและที่ฐานรูปพระสาวกยังไม่เป็นที่รู้จักดีเพราะตีพิมพ์ได้น้อยมากและบางอันที่พิมพ์แล้วก็ไม่สมบูรณ์เต็มที่ การศึกษาคำจารึกที่ฐานพระพุทธรูปไม่เพียงแต่เป็นเรื่องจำเป็นทางวิชาการเท่านั้น แต่จำเป็นที่จะต้องทำเพราะเหตุอีกประการหนึ่ง คือ ทุกวันนี้พระพุทธรูปกำลังศูนย์หายไปจากวัดต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว เนื่องจากมีผู้นำไปขายแก่นักทัศนาจร อักษรและภาษาส่วนใหญ่ที่ใช้ในคำจารึกที่พระพุทธรูปเป็นอักษรและภาษาที่ใช้ในสมัยโบราณ คนในสมัยปัจจุบันไม่เข้าใจแล้ว ส่วนพระพุทธรูปที่จารึกด้วยอักษรและภาษาไทยปัจจุบันมีจำนวนน้อย และสร้างขึ้นในสมัยนี้เอง การศึกษาจารึกที่ฐานพระพุทธรูปและที่ฐานรูปพระสาวกพบในภาคเหนือของประเทศไทยเป็นส่วนใหญ่


เลขทะเบียน : นพ.บ.457/1ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 66 หน้า ; 4 x 51 ซ.ม. : ล่องรัก-ลานดิบ ; ไม้ประกับธรรมดาชื่อชุด : มัดที่ 159  (163-173) ผูก 1 (2566)หัวเรื่อง : ลำอภิธรรมรวม--เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


เลขทะเบียน : นพ.บ.604/2                     ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณ                                                                                หมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 52 หน้า ; 4 x 55 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา มีฉลากไม้ชื่อชุด : มัดที่ 193  (399-407) ผูก 2 (2566)หัวเรื่อง : อภิธัมมา--เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


๖ เมษายน วันจักรี วันที่ระลึกแห่งการขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นปฐมบรมกษัตริย์แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ซึ่งตรงกับวันที่ ๖ เมษายนของทุกปี พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เมื่อครั้งยังทรงดำรงตำแหน่งเป็นสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกทรงยกทัพกลับจากเขมรเพื่อเข้าปราบปรามการจลาจลในกรุงธนบุรี ภายหลังบ้านเมืองสงบเรียบร้อยแล้ว มุขอำมาตย์ราชมนตรีและราษฎรพร้อมใจอัญเชิญสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์ เมื่อวันที่ ๖ เมษายน พ.ศ.๒๓๒๕ ในวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๒๕ คณะรัฐมนตรีมีมติให้ถวายพระราชสมัญญา “มหาราช”มีพระนามว่า พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ต่อมาในวันที่ ๒๗ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๕ มติคณะรัฐมนตรีให้เปลี่ยนชื่อการเรียกวันที่ ๖ เมษายนของทุกปีว่า "วันจักรี" เป็นวันพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและวันที่ระลึกมหาจักรีบรมราชวงศ์ ในวันนี้ประชาชนทุกหมู่เหล่าจะพร้อมใจกันวางพานพุ่มดอกไม้หน้าพระบรมราชานุสาวรีย์ ฯ บริเวณเชิงสะพานพระพุทธยอดฟ้าและเข้ากราบถวายบังคมพระบรมรูปหล่อบูรพมหากษัตริย์แห่งพระราชวงศ์จักรี ทั้ง ๘ พระองค์ในปราสาทพระเทพบิดร เพื่อระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของทุกพระองค์ที่มีต่อปวงชนชาวไทย



          งานปั้นปูนเป็นงานประณีตศิลป์แขนงหนึ่งที่มีมาแต่สมัยโบราณ ถ้าแบ่งตามลักษณะประเภทของงานแล้วงานปั้นปูนจัดอยู่ในประเภทงานประติมากรรม แต่จะแตกต่างจากประติมากรรมทั่วไปตรงเทคนิคการปั้นและวัสดุในการทำงาน เราเรียกวัสดุที่ใช้ในงานปั้นปูนว่า “ปูนตำ” เนื่องจากลักษณะของการเตรียมวัสดุที่ต้องนำส่วนผสมต่าง ๆ มาผ่านกระบวนการตำหรือโขลก หรือการบดย้ำด้วยแรงกระแทก  เพื่อให้วัสดุที่ผสมลงไป รวมตัวกลายเป็นเนื้อปูนที่ใช้ในการทำงาน ปูนตำยังสามารถจัดแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้อีก  ๒ ประเภทคือ “ปูนไทย” และ “ปูนน้ำมัน”           ที่มา: https://datasipmu.finearts.go.th/academic/47




Messenger