ค้นหา

รายการที่พบทั้งหมด 40,814 รายการ

          วันนี้ (วันศุกร์ที่ ๑๐ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๖๔) เวลา ๐๘.๓๐ น. นายกิตติพันธ์ พานสุวรรณ อธิบดีกรมศิลปากร เข้ากราบนมัสการพระเทพมงคลโสภณ (โสภณ ปญฺญาโสภโณ) เจ้าคณะภาค ๑๗-๑๘ (ธรรมยุต) เจ้าอาวาสวัดเสนาสนารามราชวรวิหาร พร้อมเป็นประธานในการบวงสรวงงานบูรณะเจดีย์ประธานและอาคารคณะตึก (หมู่กุฏิ) ในการนี้ นางสาวสุกัญญา เบาเนิด ผู้อำนวยการสำนักศิลปากรที่ ๓ พระนครศรีอยุธยา นายภัทรพงษ์ เก่าเงิน ผู้อำนวยการอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา นายสมพจน์ สุขาบูลย์ ผู้อำนวยการพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา พร้อมด้วยข้าราชการ เจ้าหน้าที่สำนักศิลปากร ที่ ๓ พระนครศรีอยุธยา ร่วมในพิธีดังกล่าว ณ วัดเสนาสนารามราชวรวิหาร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทั้งนี้งานบูรณะเจดีย์ประธานและอาคารคณะตึก (หมู่กุฏิ) วัดเสนาสนารามราชวรวิหาร เป็นส่วนหนึ่ของภารกิจกรมศิลปากรในการทำนุบำรุง บูรณะมรดกศิลปวัฒนธรรมของชาติ


ชื่อเรื่อง                                สตฺตปฺปกรณาอภิธมฺม (สังคิณี-มหาปัฏฐาน) สพ.บ.                                  380/4กประเภทวัสดุมีเดีย                    คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่                               พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ                           20 หน้า กว้าง 5 ซม. ยาว 54 ซม.หัวเรื่อง                                 ธรรมะ บทคัดย่อ/บันทึก          เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอม ภาษาบาลี-ไทย เส้นจาร ฉบับล่องชาด ได้รับบริจาคมาจากวัดลานคาต.โคกคราม อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี


          วันอังคารที่ ๒๘ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๖๔ เวลา ๑๖.๐๐ น. นายกิตติพันธ์ พานสุวรรณ อธิบดีกรมศิลปากร เป็นประธานในการประชุมคณะกรรมการและตรวจการจ้างงาน ในโครงการบูรณะปฏิสังขรณ์พระระเบียงคด และพระวิหารคด วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร และตรวจความคืบหน้าการบูรณะ ณ วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร กรุงเทพมหานคร




สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม (สังคิณี-มหาปัฎฐาน)  ชบ.บ.42/1-7  เอกสารโบราณ (คัมภีร์ใบลาน)


ธมฺมปทวณฺณนา ธมฺมปทฎฺฐกถา ขุทฺทกนิกายฏฺฐกถา (ธมฺมปทบั้นต้น)  ชบ.บ.84/1-1ก  เอกสารโบราณ (คัมภีร์ใบลาน)


มหานิปาตวณฺณนา(เวสฺสนฺตรชาตก) ชาตกฎฺฐกถา ขุทฺทกนิกายฎฺฐกถา (ทสพร-กุมาร)  ชบ.บ.106ก/1-6ข  เอกสารโบราณ (คัมภีร์ใบลาน)


เลขทะเบียน : นพ.บ.332/13ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 52 หน้า ; 4.5 x 54.5 ซ.ม. : ล่องชาด ; ไม้ประกับธรรมดาชื่อชุด : มัดที่ 132  (343-358) ผูก 13 (2565)หัวเรื่อง : ปาลิวารปาลี (บาลีบริวาร)--เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


                   ศิลปะล้านนา พุทธศตวรรษที่ ๒๑          ได้มาจากวัดดอกคำ ตำบลฮอด อำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ ๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๓          ปัจจุบันจัดแสดงอยู่ในห้องล้านนา อาคารประพาสพิพิธภัณฑ์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร          ผอบทำจากหินสีเทา มีลักษณะเป็นกวางหมอบ ส่วนเขารวมถึงใบหน้าและขากวางหุ้มด้วยแผ่นทองคำ บริเวณหลังกวางปิดด้วยฝาทรงกรวยจำหลักลวดลาย ฝาสามารถเปิดออกได้          ผอบรูปกวางเป็นหนึ่งในโบราณวัตถุประเภทผอบบรรจุพระธาตุที่จำหลักเป็นรูปสัตว์ได้จากการขุดค้นทางโบราณคดี ในพื้นที่อำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ พบทั้งผอบรูปกวาง รูปช้างหมอบ รูปกบ รูปนก รูปแพะ ฯลฯ วัสดุที่ใช้ในการทำผอบบรรจุพระธาตุนั้นนิยมใช้วัสดุที่หายากและมีมูลค่าสูง เช่น หินผลึกใส หรือหินสีต่าง ๆ รวมทั้งการประดับผอบนั้นก็ใช้วัสดุที่มีค่า เช่น ทองคำ หรือพลอย เป็นต้น          ผอบบรรจุพระธาตุนั้นยังสะท้อนให้เห็นถึงความศรัทธาของชาวล้านนาที่มีต่อพระพุทธศาสนา โดยผอบบรรจุพระธาตุนั้นจัดเป็นธาตุเจดีย์ คือสิ่งที่สร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงหรือเคารพบูชาองค์พระพุทธเจ้าที่ได้ปรินิพพานไปแล้ว ความเชื่อดังกล่าวนี้ยังเป็นคติเดียวกันกับสังคมที่นับถือพุทธศาสนาแห่งอื่น ๆ เช่น ล้านช้าง อยุธยา เป็นต้น และในพื้นที่ล้านนายังมีความเชื่อเกี่ยวกับตำนานพระเจ้าเลียบโลก ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับการเสด็จไปยังบ้านเมืองต่าง ๆ ในพื้นที่ของกลุ่มคนในวัฒนธรรมไท-ลาว และได้ทรงมีพุทธทำนายเกี่ยวกับการประดิษฐานพระบรมธาตุไว้หลายแห่ง คติการสร้างพระธาตุเจดีย์จึงเป็นที่ปรากฏแพร่หลายในพื้นที่ล้านนามาจนถึงปัจจุบัน   อ้างอิง กรมศิลปากร. สมบัติศิลปจากบริเวณเขื่อนภูมิพล. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แพร่การช่าง. (พิมพ์เป็นที่ระลึกในการฌาปนกิจศพ นายนกยูง พงษ์สามารถ ณ เมรุวัดธาตุทอง วันที่ ๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๐๘).


ชื่อผู้แต่ง         มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ ชื่อเรื่อง          สุภาษิตพระร่วงคำโคลง ครั้งที่พิมพ์       - สถานที่พิมพ์    ธนบุรี สำนักพิมพ์      โรงพิมพ์เจริญสิน ปีที่พิมพ์           ๒๕๐๓ จำนวนหน้า      ๖๔ หน้า หมายเหตุ        พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ ศาสตราจารย์ พันโท หลวงชัยอัศวรักษ์ (ไชย แสง - ชูโต) ณ สุสานหลวงวัดเทะศิรินทราวาส                       หนังสือเล่มนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับประวัติของศาสตราจารย์ พันโท หลวงชัยอัศวรักษ์ (ไชย แสง - ชูโต) ทั้งครอบครัว และประวัติราชการรวมถึงเนื้อหาของสุภาษิตพระร่วงคำโคลง มีคติธรรมสอนใจแก่ผู้อ่านให้ประพฤติตนตามครรลอง


ชื่อเรื่อง : เรื่องทรงตั้งเจ้าประเทศราช กรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 1 ชื่อผู้แต่ง : สำนักนายกรัฐมนตรี ปีที่พิมพ์ : 2514 สถานที่พิมพ์ : พระนคร สำนักพิมพ์ : โรงพิมพ์สำนักทำเนียบนายกรัฐมนตรี จำนวนหน้า : 126 หน้า สาระสังเขป : หนังสือเรื่องทรงตั้งเจ้าประเทศราช เป็นหนังสือที่คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ได้เลือกสรรค์ไว้ในฐานะเป็นเอกสารที่ทรงคุณค่าหาได้ยาก กล่าวถึงพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 1 มีพระราชโองการสถาปนาให้ท้าวพระยานาหมื่นขึ้นเป็นเจ้าประเทศราชปกครองบ้านเมือง และพระราชทานทรัพย์สินเพื่อใช้ในการดูแลบ้านเมือง ตัวอย่างเช่น เรื่องตั้งให้เจ้านันทเสน เป็นพระเจ้านันทเสนเมืองเวียงจันทบุรี เรื่องวันจารึกพระสุพรรณบัตร ตั้งให้พญาเชียงใหม่ เป็นพระเจ้าบรมราชาธิบดีศรีสุริยวงษ เมืองเชียงใหม่ เป็นต้น หมายเหตุ: สะกดคำตามต้นฉบับ




มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ.  ศกุนตลา มัทนะพาธา ท้าวแสนปม ประมวลสุภาษิต.  พระนคร : ศิลปาบรรณาคาร, 2501.         รวมพระราชนิพนธ์ 3 เรื่อง ได้แก่ ศกุนตลา มัทนะพาธา ท้าวแสนปม และท้ายเล่มมีประมวลสุภาษิต



Messenger