ค้นหา

รายการที่พบทั้งหมด 40,815 รายการ

บทละครเรื่องเสือเฒ่านี้ พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นเป็นบทละครสี่องค์ โดยดัดแปลงมาจากละครภาษาอังกฤษ และทรงใช้พระนามแฝงว่า "ศรีอยุธยา"


สาระสังเขป                : จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกในวันครู 16 มกราคม 2503 โดยได้เรียบเรียงครูรวม 15 ท่าน โดยเลือกครูผู้มีความสามารถเด่นในด้านต่าง ๆ กัน เช่น ด้านการปกครอง                                    การริเริ่มและการสร้างสรรค์ในวิชาสาขาต่าง ๆ การแต่งแบบเรียนและวรรณคดี การอบรมสั่งสอน เป็นต้นผู้แต่ง                        : คุรุสภาโรงพิมพ์                    : คุรุสภาปีที่พิมพ์                    : 2503ภาษา                        : ไทยรูปแบบ                      : PDFเลขทะเบียน               : น.32บ.2788 จบเลขหมู่                       : 923.7593                                    ค 689 ป



เลขทะเบียน : นพ.บ.19/3ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ :  68 หน้า  ; 5 x 55 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 10 (105-113) ผูก 9หัวเรื่อง : อกฺขรคณฺฐีนสฺสย --เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


เลขทะเบียน : นพ.บ.44/3ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ :  42 หน้า ; 4 x 55 ซ.ม. : ทองทึบ ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 26 (254-266) ผูก 3หัวเรื่อง :  มหานิปาตวณฺณนา --เอกสารโบราณ             คัมภีร์ใบลาน             พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


ชื่อผู้แต่ง       :   ดำรงราชานุภาพ , สมเด็จฯ กรมพระยาชื่อเรื่อง        :   ตำนานเรื่องเครื่องโต๊ะและถ้วยปั้นครั้งที่พิมพ์     :   พิมพ์ครั้งที่สิบสี่สถานที่พิมพ์   :   กรุงเทพมหานครสำนักพิมพ์     :   บริษัทสำนักพิมพ์วิชาการปีที่พิมพ์        :   ๒๕๒๙จำนวนหน้า    :  ๑๓๒ หน้าหมายเหตุ      :   พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานประชุมเพลิงศพ นางสุมาลี  สิงเทพธาดา  ณ ฌาปนสถานกองทัพบกวัดโสมมนัสวิหาร  วันที่  ๒  สิงหาคม  ๒๕๒๙                    ตำนานเรื่องเครื่องโต๊ะและถ้วยปั้น สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้ทรงพระนิพนธ์ขึ้นเมื่อ พ.ศ.๒๔๖๐ เป็นการพรรณนาถึงลักษณะการที่เล่นเครื่องโต๊ะกันเมื่อในรัชกาลที่ ๕ ฉะนั้นโดยรูปเรื่อง เป็น ๒ ตอน ตอนที่ ๑ ว่าด้วยตำนานเครื่องโต๊ะและถ้วยปั้น ตอนที่ ๒ ว่าด้วยลักษณะการเล่นเครื่องโต๊ะเมื่อในรัชการที่ ๕ (สำหรับอ่านเป็นสาธารณะและเป็นที่ระลึกของผู้ที่เคยเป็นคณะกรรมการ)


ชื่อเรื่อง : ละครพูด เรื่อง วั่งตี่, มิตรแท้, ล่ามดี, วิไลเลือกคู่ ชื่อผู้แต่ง : มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ ปีที่พิมพ์ : 2512 สถานที่พิมพ์ : พระนคร สำนักพิมพ์ : องค์การค้าของคุรุสภา จำนวนหน้า : 256 หน้า สาระสังเขป : พระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงใช้นามแฝงว่า "ศรีอยุธยา" ประกอบด้วย บทละคร 4 เรื่อง ได้แก่ ละครสังคีต เรื่อง วั่งตี่ แต่งดัดแปลงจากเรื่องภาษาอังกฤษของ มิสเตอร์ ว.ส. คิลเปิต ชื่อ มิกาโด ละครเจรจา เรื่อง มิตรแท้ แปลจากเรื่องภาษาอังกฤษ บทละครเรื่องล่ามดี เป็นบทละครพูดชุดเดียว เนื้อเรื่องเป็นเรื่องตลกขบขัน ทรงแปลงจากเรื่องละครพูดภาษาฝรั่งเศสของ คริสตังค์ แบร์นาร์ด และบทละครเรื่องวิไลเลือกคู่ เป็นบทละครพูด 3 องก์ ดัดแปลงจากเรื่องละครพูดภาษาฝรั่งเศสชื่อ เลส์ วิวาซิเต้ส์ ดือ คิปิเตนตี๊ค ของ อืเจน ลาบิช และ เอดวารด มารแตง เป็นเรื่องที่แสดงให้เห็นถึงความโลภของมนุษย์



เรื่องที่ 320 พระคัมภีร์ใบลานนี้ ได้มาจากวัดใหญ่พลิ้ว ต.พลิ้ว อ.แหลมสิงห์ จ.จันทบุรี เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2532 เนื้อเรื่องเกี่ยวกับชาดก เรื่องพระเวสสันดรชาดก ตอนกัณฑ์ทศพร เป็น 1 ใน 13 ของชาดกเรื่องพระมหาเวสสันดรชาดก ซึ่งเป็นชาดกเรื่องหนึ่งในทศชาติชาดก กล่าวถึงพระชาติสุดท้ายของพระโพธิสัตว์ในการบำเพ็ญทานบารมี ก่อนจะทรงอุบัติมาเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เรื่องที่ 321 พระคัมภีร์ใบลานนี้ ได้มาจากวัดใหญ่พลิ้ว ต.พลิ้ว อ.แหลมสิงห์ จ.จันทบุรี เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2532 เนื้อเรื่องเกี่ยวกับชาดก เรื่องพระเวสสันดรชาดก ตอนกัณฑ์กุมาร เป็น 1 ใน 13 ของชาดกเรื่องพระมหาเวสสันดรชาดก ซึ่งเป็นชาดกเรื่องหนึ่งในทศชาติชาดก กล่าวถึงพระชาติสุดท้ายของพระโพธิสัตว์ในการบำเพ็ญทานบารมี ก่อนจะทรงอุบัติมาเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า


ชื่อเรื่อง : วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดตาก ผู้แต่ง : คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุในคณะกรรมการอำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ปีที่พิมพ์ : 2544 สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์ : กระทรวงมหาดไทย : กระทรวงศึกษาธิการ และกรมศิลปากร


 ชื่อเรื่อง : ชุมนุมฉันท์ดุษฎีสังเวย เล่ม ๑   ผู้แต่ง : -   ปีที่พิมพ์ : ๒๕๒๗   สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพมหานคร   สำนักพิมพ์ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว                   หนังสือ "ชุมนุมฉันท์ดุษฎีสังเวย" นี้ ประกอบด้วยฉันท์สรรเสริญพระพุทธรูปสำคัญ ฉันท์ดุษฎีสังเวยในงานพระราชพิธีต่างๆ และฉันท์ดุษฎีสังเวยกล่อมช้าง ซึ่งกรรมการหอพระสมุดวชิรญาณได้เลือดสรรจากหนังสือดุษฎีสังเวยที่แต่งขึ้นตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาก่อนรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ตลอดมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว นำมารวมพิมพ์ไว้เป็นเล่มเดียวกันครั้งแรก เพื่อแจกในงานพระราชทานเพลิงศพ พระยาศรีสุธรรม ศุภราชบรมนารถนิตยภักดีพิริยพาหะ (เจริญ  จารุจินดา)


ขงจู๊.  สุภาษิตขงจู๊ กับเรื่องนางเคงเกียงสอนบุตร. พระนคร : กรมศิลปากร, 2507.         เนื้อหาในเรื่องเป็นเรื่องที่มีคติ สอนให้กตัญญูต่อผู้มีพระคุณ สอนให้ตั้งตนให้เป็นคนดี และอย่างอื่น อันเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่ได้อ่านแล้วไตร่ตรองนำไปปฏิบัติตาม



รวบรวมภาพ พระราชกรณียกิจ ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนารถบพิตร ในขณะครองราชย์ ดำรงพระอิสริยยศเป็น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชฯ บรมนารถบพิตร รัชกาลที่ 9 ประจำปี พ.ศ. 2548      ผู้แต่ง                          สำนักงานเสิมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ทำเนียบรัฐบาล      โรงพิมพ์                      เซเว่น พริ้นติ้ง กรุ๊ป     ปีที่พิมพ์                      2547     ภาษา                          ไทย - อังกฤษ      รูปแบบ                        pdf      เลขทะเบียน                หช.จบ. 151 จบ (ร) (197)


***บรรณานุกรม***     ผดุงถิ่นยุคข่าวเศรษฐกิจ     ปีที่ 16(7)     ฉบับที่ 660(254)    วันที่ 12-16 สิงหาคม 2534


Messenger