ค้นหา

รายการที่พบทั้งหมด 40,815 รายการ


กฐินพระราชทาน ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ วัดทรงศิลา  ตำบลในเมือง อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ ในวันเสาร์ที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ 




       จัดแสดงนิทรรศการพิเศษเนื่องในวันอนุรักษ์






1.       หัวข้อเรื่อง         เพื่อเข้าร่วมกิจกรรมเทศกาลลอยกระทง  ณ เมืองพารามัตตา เครือรัฐ ออสเตรเลีย 2.       วัตถุประสงค์ 2.1                        ส่งเสริมสนับสนุนและให้ความร่วมมือ ในการถ่ายทอดศิลปะการแสดงระหว่างสำนักการสังคีต กรมศิลปากร และ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ในออสเตรเรีย 2.2                        เพื่อเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมด้านการนาฏศิลป์ไทยในต่างประเทศ 2.3                        สนับสนุนและร่วมแสดงในงาน  เทศกาลลอยกระทง ในเมืองพารามัตตา ประเทศออสเตรเลีย ซึ่งจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี 3.       กำหนดเวลา       ระหว่างวันที่ 17-25 พฤศจิกายน 2557 4.       สถานที่ 4.1                        เครือรัฐ พารามัตตา ประเทศออสเตรเลีย 5.       หน่วยงานผู้จัด    การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย 6.       หน่วยงานสนับสนุน        - 7.       กิจกรรม             ทำหน้าที่ผู้แสดงในการแสดง อาทิเช่น การแสดงพื้นบ้าน การแสดงสร้างสรรค์ และการการแสดงในขบวนแห่ 8.       คณะผุ้แทนไทย   นายภีระเมศร์ ทิพย์ประชาบาล นาฏศิลปินปฏิบัติงาน กลุ่มนาฏศิลป์ สำนักการสังคีต                         กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม 9.       สรุปสาระของกิจกรรม                        การร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ ได้สำเร็จบรรลุตามวัตถุประสงค์ และประสบความสำเร็จไปได้    ด้วยดี 10.   ข้อเสนอแนะจากกิจกรรม เห็นควรให้องค์กรสนับสนุนโครงการที่มีบุคคลจากกกรมศิลปากรไปร่วมดำเนินการ ช่วยจัดกิจกรรมด้านนาฏศิลป์ไทยแก่องค์กาต่างๆในต่างประเทศ เพราเป็นการชี้นำให้องค์กรเหล่านั้น ได้เรียนรู้ ได้เห็น การแสดงนาฏศิลป์ไทยที่งดงาม ตามแบบกรมศิลปากร                               รายงานการเดินทางไปราชการต่างประเทศ ระหว่างวันที่ 17-25พฤศจิกายน  2557 ณ  รับพารามัตตา ประเทสออสเตรเรีย 17 พ.ย. 57 12.00 น. ออกเดินทางไปท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 17.00 น.              ออกเดินทางจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ประเทศไทย สู่ ท่าอากาศยาน ซิดนีย์  ประเทศออสเตรเรีย 18 พ.ย.. 57 07.30น.             ถึงท่าอากาศยานซิดนีย์ ประเทศออสเตรเรีย 10.00น.             เดินทางเข้าที่พัก พักผ่อน 11.00น.             เดินทางไปการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ณกรุง ซิดนีย์ 12.20น.             พักรับประทานอาหารเที่ยง 14.00น.             เดินทางเค้าที่พัก โรงแรมเมโทร 15.15น.             พักผ่อนตามอัธยาศัย 19.00น              รับประทานอาหารเย็น 20.00น.             พักผ่อนตามอัธยาศัย 19 พ.ย. 57 08.00น.             รับประทานอาหารเช้า ณที่พัก 09.30น              ซ้อมการแสดงย่อย ณที่พัก 12.00น.             พักเที่ยงและรับประทานอาหาร ณที่พัก 13.30น.             เดินทางไปสำนักงานการท่องเที่ยวแห่งแระเทศไทย ณ กรุง ซิดนีย์ ประเทศ ออสเตรเรีย 14.30น.             ซ้อมการแสดง ณ สำนักงานการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย 18.10น.             ไปเตรียมทำการแสดงเปิดตัวเทศการงานลอยกระทง ณสำนักงานการบินไทย 19.00น.             รับประทานอาหารเย็น ณ ที่ทำการแสดง 19.30น.             เริ่มการแสดง ลาวกระทบไม้ ,สกัวกันตรึม,อีสานเมดเลย์ 22.00น.             เสร็จสิ้นการแสดง 23.00น              เดินทางกลับที่พัก พักผ่อนตามอัธยาสัย 20 พ.ย..57 07.30น.             รับประทานอาหารเช้า ณ โรงแรมที่พัก 09.30น.             เดินทางไปสำนักงานการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ณ กรุงซิดนีย์ประเทศออสเตรเรีย เพื่อประชุมในเรื่องการแสดง งานเทศกาลวันลอยกระทง ณ เมืองพารามัตตา ประเทศออสเตรเรีย 13.30น.             พักรับประทานอาหารเที่ยง 14.30น.             เดินทางไปทัศนศึกษา ณ ซิดนีย์ โอเปร่าเฮ้าว์ 15.30น.             เดินทางกลับสำนักงานเพื่อจัดเตรียมอุปกรณ์การแสดง ณ เมือง พารามัตตา 18.30น.             พักรับประทานอาหารเย็น ณ สำนักงาน 20.10น.             เดินทางกลับที่พัก พักผ่อนตามอัธยาศัย 21 พ.ย.57 07.00น.             รับประทานอาหารเช้า ณ ที่พัก 08.30น.             จัดและขนสำภาระ 09.20น.             ออกเดินทางไปเมืองพารามัตตา 11.30น.             ถึงเมืองพารามัตตา 12.30น.             เข้าที่พัก โรงแรม มาร์คัส โอเทล 13.00น.             พักรับประทานอาหารเที่ยง 14.30น.             ออกเดินทางไปจัดสถานที่ ณ พารามัตตา ริเวอร์ สถารที่จัดงานลอยกระทง  และเริ่มฝึกซ้อมการแสดง 17.30น              พักรับประทานอาหารเย็น 18.30น.             เดินทางกลับโรงแรมที่พัก 19.00น.             พักผ่อนตามอัธยาศัย 22 พ.ย.57 07.00น.             รับประทานหารเช้า 08.30น.             ออกเดินทางไปสถาณที่แสดง 10.10น.             เริ่มทำการฝึกซ้อมการแสดง 12.30น.             รับประทานอาหารเที่ยง 13.30น.             เริ่มทำการฝึกซ้อมการแสดงต่อ 17.00น.             พักรับปประทานอาหารเย็น 17.30น.             เริ่มแต่งหน้าแต่งกายเตรียมพร้อมแสดง 19.45น.             ทำการแสดงในชุดตำนานลอยกระทง ชุดที่ 1 -12 แบบสร้างสรรค์ 21.40น.             เสร็จสิ้นการแสดง 22.00น.             จัดเก็บอุปกณณ์ สัมภาระในการแสดง 22.50น.             กลับที่พักและทำการประชุม 23.20น.             พักผ่อนตามอัธยาศัย   23 พ.ย..57 08.00น.             รับประทานอาหารเช้าเก็บสำภาระออกจากโรงแรมที่พัก 08.30น.             เดินทางไปวัดพุทธรังษี 09.30น.             มีกิจพรรมพิเศษ สอนศิลปะไทย ให้กับคณะเด็กเล็กและนักเรียน รวมถึงบุคคลทั่วไป ในวัดพุทธรังษี 10.30น. เริ่มกิจกรรมการสอนเด็กเล็ก 12.45น.             รับประทานอาหารเที่ยง 13.30น.             เริ่มกิจกรรมการสอนเด็กโตและบุคคลทั่วไป 17.00น.             พักรับประทานอาหารเย็น 17.30น.             เดินทางกลับที่พักกรุงซิดนีย์ 18.30น.             ถึงที่พักโรงแรมเมโทค โฮเทล จัดเก็บสัมภาระ 20.30น.             พักผ่อนตามอัธยาศัย 24 พ.ย. 57 08.00น.             รับประทานอาหารเช้า ณ โรงแรมที่พัก 10.30น.             เดินทางไปลาท่านผู้อำนวยการสำนักงานการท่องเที่ยงแห่งประเทศไทย ณ กรุงซิดนีย์ ประเทศออสเตรเรีย 12.00น.             พักรับประทานอาหารเที่ยง ณ สำนักงาน 13.00น.             เดินทางกลับที่พัก 14.30น.             พักผ่อนตามอัธยาศัย 25 พ.ย. 57 07.00น.             รับประทานอาหารเช้า ณ โรงแรมที่พัก 08.10น.             เดินทางไปท่าอากาศสยาน ซิดนีย์ ประเทศ ออสเตรเรีย 09.00น.             ถึงท่าอากาศยาน เช๊คอินโหลดสัมภาระเตรียมขึ้นเครื่อง 10.20น.             ออกเดินทางจากท่าอากาศยานซิดนีย์ประเทศออสเตรเรีย 16.45น.             ถึงท่าอากศยานแห่งชาตฺสุวรรณภูมิ (ตามเวลาประเทศไทย)


หนังสือเรื่องเสือโคคำฉันท์พระมหาราชครูเป็นผู้แต่ง เป็นหนังสือประเภทคำฉันท์เรื่องแรกที่แต่งจบบริบูรณ์ในสมัสมเด็จพระนารายณ์มหาราช สันนิษฐานว่าเรื่องนี้แต่งก่อนสมุทรโฆษคำฉันท์โดยนำเค้าโครงเรื่องมาจากปัญญาสชาดก



เลขทะเบียน : นพ.บ.19/2ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ :  52 หน้า  ; 5 x 55 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 10 (105-113) ผูก 8หัวเรื่อง : อกฺขรคณฺฐีนสฺสย --เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


เลขทะเบียน : นพ.บ.44/2ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ :  42 หน้า ; 4 x 55 ซ.ม. : ทองทึบ ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 26 (254-266) ผูก 2หัวเรื่อง :  มหานิปาตวณฺณนา --เอกสารโบราณ             คัมภีร์ใบลาน             พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


          ในภาคใต้ได้พบเครื่องประดับที่แกะลายลึกลงไปในเนื้อหินแบบที่เรียกว่า Intaglio ทั้งในฝั่งอันดามันและฝั่งอ่าวไทย ยกตัวอย่างเช่น ฝั่งอันดามันที่แหล่งโบราณคดีภูเขาทอง จังหวัดระนอง เมืองท่าที่เจริญอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๖ – ๙ พบเครื่องประดับทำจากหินคาร์เนเลียนและอาเกต แกะสลักรูปบุคคลโรมัน รูปคนขี่ม้า และรูปม้า ที่แหล่งโบราณคดีคลองท่อม (ควนลูกปัด) จังหวัดกระบี่ ซึ่งเป็นเมืองท่าที่เจริญอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๖ – ๙ เครื่องประดับที่พบทำจากหินคาร์เนเลียนและหินตระกูลควอตซ์ แกะเป็นรูปบุคคลเลียนแบบศิลปะโรมัน และรูปสัตว์ คือ ไก่คู่ และโค             สำหรับในฝั่งอ่าวไทยพบที่แหล่งโบราณคดีเขาสามแก้ว อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร เมืองท่าที่เจริญอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๓– ๙ แกะเป็นรูปสัตว์และสัญลักษณ์มงคล อาทิ สิงห์ ตรีรัตนะหรือนนทิบาท และศรีวัตสะ เป็นต้น และที่แหล่งโบราณคดีโคกทอง ซึ่งเป็นเมืองท่าที่เจริญอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๖– ๙ แกะเป็นรูปสัตว์และสัญลักษณ์มงคล คือ โคหมอบ และสวัสดิกะ             ส่วนเครื่องประดับที่แกะเป็นลายนูนต่ำ หรือ Cameo พบเพียงชิ้นเดียวที่แหล่งโบราณคดีนางย่อน อำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา ทำจากหินอาเกตแกะรูปช้าง             จากที่กล่าวมาแสดงให้เห็นว่าเครื่องประดับหินแกะสลักที่พบทั้งทางฝั่งอันดามันและอ่าวไทย ในแหล่งโบราณคดีซึ่งเป็นเมืองท่าที่เจริญอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๖ – ๙ เป็นหลักฐานที่แสดงว่าคนในสมัยนั้นมีความนิยมเครื่องประดับที่แกะสลักลงบนหิน หินที่นิยมนำมาทำเครื่องประดับรูปแบบนี้ คือ หินคาร์เนเลียน และหินอาเกต ลวดลายที่แกะมีทั้งลายบุคคล สัตว์ และสัญลักษณ์มงคล             การค้นพบเครื่องประดับหินแกะสลักในแหล่งโบราณคดีคลองท่อม ภูเขาทอง นางย่อน เขาสามแก้ว และโคกทองยังแสดงให้เห็นว่าแหล่งโบราณคดีเหล่านี้เป็นเมืองท่าของทั้งสองชายฝั่งทะเลที่เจริญอยู่ในช่วงเวลาเดียวกันอีกด้วย   ที่มาข้อมูล บุณยฤทธิ์ ฉายสุวรรณ. ทุ่งตึก เมืองท่าการค้าโบราณ. กรุงเทพ : สมาพันธ์ จำกัด, ๒๕๕๐.   พรทิพย์ พันธุโกวิท และคณะ. โครงการเผยแพร่องค์ความรู้ทางด้านโบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์และแรกเริ่มประวัติศาสตร์ในเขตพื้นที่จังหวัดสงขลาและสตูล. กรุงเทพฯ : บริษัท บางกอกอินเฮ้า จำกัด, ๒๕๕๗.  


Messenger