ค้นหา

รายการที่พบทั้งหมด 40,814 รายการ

ชื่อเรื่อง                     พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระปฐมเจดีย์ผู้แต่ง                        สรัญญา สุริยรัตนกรผู้แต่งเพิ่ม                   กฤษฎา พิณศรี, ประภัสสร โพธิ์ศรีทอง.ประเภทวัสดุ/มีเดีย        หนังสือท้องถิ่นISBN/ISSN                 974-418-093-5หมวดหมู่                   พิพิธภัณฑวิทยาเลขหมู่                      069.0959372 ส349พสถานที่พิมพ์               กรุงเทพฯสำนักพิมพ์                 บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัดปีที่พิมพ์                    2542ลักษณะวัสดุ               122 หน้า : ภาพประกอบ, แผนที่ ; 29 ซม.                       หัวเรื่อง                     พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ  พระปฐมเจดีย์ภาษา                       ไทยบทคัดย่อ/บันทึก           ประวัติของพิพิธภัณฑ์และผังการจัดแสดงนิทรรศการถาวร แนะนำสภาพภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ เรื่องราวในอดีของนครปฐมในสมัยก่อนประวัติศาสตร์และยุควัฒนธรรมทวารวดี เรื่องราวของศาสนาและความเชื่อของชุมชนสมัยทวารวดีจากหลักฐานโบราณวัตถุ เรื่องราวความเจริญรุ่งเรืองของนครปฐม หลังจากวัฒนธรรมทวารวดีเสื่อมลง จนถึงสมัยการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ มีภาคผนวกโบราณวัตถุสมัยทวารวดีสำคัญและจารึกโบราณ และเนื้อเรื่องภาคภาษาอังกฤษประกอบ


ชื่อเรื่อง                                ธมฺมปทวณฺณา ธมฺมปทฏฐกถา ขุทฺทกนิกายฏฐกถา (ธมฺมปทฺธ) สพ.บ.                                  376/4ประเภทวัสดุมีเดีย                    คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่                               พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ                           52 หน้า กว้าง 4 ซม. ยาว 57 ซม.หัวเรื่อง                                 ธรรมเทศนา บทคัดย่อ/บันทึก          เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรธรรมอีสาน ภาษาบาลี-ไทยอีสาน เส้นจาร ฉบับล่องชาด-ลองรัก ได้รับบริจาคมาจากวัดลานคา ต.โคกคราม อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี



สตฺตปฺปกรณาภิธมฺมเทศนา (สังคิณี-มหาปัฎฐาน)  ชบ.บ.38/1-7  เอกสารโบราณ (คัมภีร์ใบลาน)


ปญฺจพุทฺธา (ปญฺจพุทฺธา)  ชบ.บ.76/1-1ฆ  เอกสารโบราณ (คัมภีร์ใบลาน)


สงฺคีติกถา (ปถม-ปญฺจมสงฺคายนา)  ชบ.บ.101/1-1ค  เอกสารโบราณ (คัมภีร์ใบลาน)


เลขทะเบียน : นพ.บ.321/2ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 24 หน้า ; 4.5 x 54.5 ซ.ม. : ชาดทึบ-ทองทึบ-ล่องรัก-ลานดิบ ; ไม่มีไม้ประกับชื่อชุด : มัดที่ 129  (321-328) ผูก 2 (2565)หัวเรื่อง : แปดหมื่นสี่พันขันธ์(8หมื่น)--เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


          ชื่อผลงาน: Untitled          ศิลปิน: พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9)          เทคนิค: จิตรกรรมสีน้ำมันบนผ้าใบ         ขนาด: กว้าง 60 ซม. สูง 46 ซม.         ปีที่ทรงวาด: พ.ศ. 2506         รายละเอียดเพิ่มเติม: : พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงโปรดการเขียนภาพจิตรกรรม ตั้งแต่เมื่อครั้งยังทรงประทับศึกษาอยู่ต่างประเทศ เมื่อทรงเสด็จนิวัติพระนครและเริ่มทรงงานศิลปะเป็นงานอดิเรกราวช่วงต้น พ.ศ.2500 พระองค์ทรงยินดีที่จะแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นและทรงสดับข้อเสนอแนะในการสร้างสรรค์งานศิลปะจากศิลปินระดับแนวหน้าของประเทศ เพื่อนำมาพัฒนาแนวทางการสร้างสรรค์งานศิลปะของพระองค์ ภาพจิตรกรรมฝีพระหัตถ์ในแนวกึ่งนามธรรม (semi-abstract) แบบเอ็กซ์เพรสชั่นนิสม์ (expressionism) ชิ้นนี้ ซื่งใช้โทนสีที่ร้อนแรงในการแสดงอารมณ์ความรู้สึก สะท้อนให้เห็นถึงความสนพระทัยในรูปแบบและแนวทางการแสดงออกของงานจิตรกรรมสมัยใหม่ของพระองค์            Title: Untitled          Artist: His Majesty King Bhumibol Adulyadej (Rama IX)         Technique: oil on canvas         Size: 60 × 46 cm.         Year: 1963        Detail: His Majesty King Bhumibol Adulyadej (Rama IX) had an interest on painting ever since his adolescence years of studying abroad. When His Majesty came back to Thailand and started to paint as amateur painter on the early 1960s, His Majesty is pleased to take advice and criticism from professional and avant-garde artists in a country, in order to develop and create His Majesty’s own unique style. This semi abstract and expressionist painting clearly reflects his Majesty's impression on the trends & expressions of modern art



ชื่อเรื่อง : โหงวโฮ้วเพงไซ โหงวโฮ้งเพงหน่า เล่ม ๒ ชื่อผู้แต่ง : โหงวโฮ้วเพงปีที่พิมพ์ : 2513สถานที่พิมพ์ : พระนคร สำนักพิมพ์ : คุรุสภาลาดพร้าว จำนวนหน้า : 276 หน้าสาระสังเขป : โหงวโฮ้วเพงไซ โหงวโฮ้งเพงหน่า เป็นนิยายอิงพงศาวดารจีนที่แพร่หลายในเมืองไทย เนื้อเรื่องสนุกสนาน ปูมหลังก็ยอดเยี่ยม ซึ่งจะทำความเข้าใจตัวละครและการดำเนินเรื่องได้อย่างลึกซึ้ง


จารึกขุนศรีไชยราชมงคลเทพ นอกจากจารึกวัดจงกอ แล้ว ในเขตพื้นที่อำเภอด่านขุดทด ยังพบจารึกอีกหลักหนึ่งที่เราไม่พูดถึงคงไม่ได้ นั่นคือ #จารึกขุนศรีไชยราชมงคลเทพ เดิมทีจารึกหลักนี้พบในเขตพื้นที่อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา พบอยู่กับไม่ไกลกับ #เหวตาบัว ซึ่งเป็นหนึ่งในช่องทางสัญจรธรรมชาติเชื่อมต่อระหว่างที่ราบภาคกลางกับที่ราบสูงโคราช โดยเป็นจารึกสำคัญที่แสดงความมีตัวตนของ #เมืองพิมาย และเมืองพนมรุ้ง ในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 20 ว่ามิได้รกร้าง มีการอยู่อาศัย ต่อเนื่องเรื่อยมาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 16 แม้แต่กรุงศรีอยุธยา ในช่วงเวลานั้น ก็รู้จักและมีความต้องที่จะขยายพระราชอำนาจเหนือเมืองพิมาย เเละเมืองพนมรุ้ง อีกด้วย จารึกขุนศรีไชยราชมงคลเทพ เป็นจารึกหินทราย ด้านที่ 1 จารึกด้วยอักษรไทย ภาษาไทย จำนวน 26 บรรทัด ด้านที่ 2 จารึกด้วยอักษรขอม ภาษาเขมรโบราณ จำนวน 27 บรรทัด #ข้อความในจารึกกล่าวถึง สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสาทพระยา) โปรดให้ขุนศรีไชยราชมงคลเทพเอกมนตรีพิเศษและเหล่าขุนนาง ยกทัพไปตีเมืองพิมาย เมืองพนมรุ้ง และเมืองพระนคร ภายหลังได้รับชัยชนะจึงยกทัพกลับ สอดคล้องกับข้อความที่ปรากฏในพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ และพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับปลีกของหอสมุดวชิรญาณ ตรงกับปี พ.ศ.1974 ปัจจุบันจารึกหลักดังกล่าว ถูกเก็บรักษาไว้เป็นอย่างดี ณ วัดบ้านฉางประชานิมิต ตำบล เขาน้อย อำเภอลำสนธิ จังหวัดลพบุรี เรียบเรียงนำเสนอโดย นายวรรณพงษ์ ปาละกะวงษ์ ณ อยุธยา นักโบราณคดีปฏิบัติการ



สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร กำหนดจัดการเสวนาทางวิชาการ เรื่อง "เสภารัตนโกสินทร์" เนื่องในงาน "ใต้ร่มพระบารมี ๒๔๐ ปี กรุงรัตนโกสินทร์" ในวันพุธที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๖๕ เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. ณ ห้องออดิทอเรียม หอศิลป์ร่วมสมัยราชดำเนิน เพื่อความปลอดภัยตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-๑๙) จึงสามารถรับผู้สนใจเข้าร่วมการเสวนา ณ สถานที่จัดงานได้จำกัดเพียง ๓๐ ท่านเท่านั้น โดยสามารถสมัครเข้าร่วมงานได้ทางแบบฟอร์มตามลิงก์ด้านล่างนี้ https://docs.google.com/.../1L67ktMWVTt5ulv2AV5wv.../edit... ทั้งนี้ ท่านสามารถรับชมการแพร่ภาพสด ผ่าน facebook live และ youtube live ของกรมศิลปากรได้ตลอดการเสวนา



          สำนักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จัดการเสวนาประกอบนิทรรศการพิเศษเนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย พุทธศักราช 2565 เรื่อง อาโรคยปณิธาน ในหัวข้อ "พระกริ่ง :ศาสตร์แห่งการรักษากับพุทธวิธีว่าด้วยการรักษาโรค" ในวันอังคารที่ 19 กรกฎาคม 2565 เวลา 13.30-15.30 น.           ขอเชิญชวนผู้สนใจ ร่วมศึกษาความเชื่อเรื่องเวทมนตร์คาถา และพิธีกรรมการสร้างพระกริ่งสายวัดสุทัศน์​ ต้นตำรับจากสมเด็จพระสังฆราช​ (แพ​ ติสสเทวมหาเถร)​ กับพระมหาธีระวัฒน์ ธิติโชติ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดสุทัศนเทพวราราม และ ดร.อุเทน วงศ์สถิต คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ติดตามรับชมผ่าน Facebook Live Page : Office of National Museums, Thailand


Messenger