ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 40,813 รายการ
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารกรมศิลปากร
ชื่อเรื่อง
เล่มที่
ตอนที่
หน้า
วันที่ประกาศ
แก้คำผิด ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน ฉบับพิเศษ เล่ม ๙๙ ตอนที่ ๑๗๒, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ เล่ม ๘๙ ตอนที่ ๖๘, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน
100
๗ ง
279
๑๘ มกราคม พ.ศ.๒๕๒๖
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง เปลี่ยนชื่อคลองหลอดและคลองโอ่งอ่าง
100
๓๐ ง
759
๘ มีนาคม พ.ศ.๒๕๒๖
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน
100
๓๖ ง
854
๑๕ มีนาคม พ.ศ.๒๕๒๖
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน
100
๓๖ ง
868
๑๕ มีนาคม พ.ศ.๒๕๒๖
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน
100
๘๘ ง
1742
๓๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๒๖
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน
100
๘๘ ง
1746
๓๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๒๖
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน
100
๑๖๗ ง
3864
๑๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๖
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน
100
๑๖๗ ง
3866
๑๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๖
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนศิลปโบราณวัตถุ
100
๑๘๔ ง ฉบับพิเศษ
9
๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๒๖
แก้คำผิด ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน ฉบับพิเศษ เล่ม ๙๙ ตอนที่ ๑๗๒, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ เล่ม ๘๙ ตอนที่ ๖๘, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน
100
๗ ง
279
๑๘ มกราคม พ.ศ.๒๕๒๖
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง เปลี่ยนชื่อคลองหลอดและคลองโอ่งอ่าง
100
๓๐ ง
759
๘ มีนาคม พ.ศ.๒๕๒๖
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน
100
๓๖ ง
854
๑๕ มีนาคม พ.ศ.๒๕๒๖
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน
100
๓๖ ง
868
๑๕ มีนาคม พ.ศ.๒๕๒๖
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน
100
๘๘ ง
1742
๓๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๒๖
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน
100
๘๘ ง
1746
๓๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๒๖
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน
100
๑๖๗ ง
3864
๑๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๖
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน
100
๑๖๗ ง
3866
๑๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๖
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนศิลปโบราณวัตถุ
100
๑๘๔ ง ฉบับพิเศษ
9
๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๒๖
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง เพิกถอนโบราณสถาน
101
๙ ง
132
๑๗ มกราคม พ.ศ.๒๕๒๗
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน
101
๒๗ ง ฉบับพิเศษ
13
๑ มีนาคม พ.ศ.๒๕๒๗
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน
101
๒๗ ง ฉบับพิเศษ
23
๑ มีนาคม พ.ศ.๒๕๒๗
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ห้ามมิให้ซ่อมแซม แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือขุดค้นสิ่งใด ๆ ภายใจบริเวณทรากอากาศศาลากลางจังหวัดฉะเชิงเทรา (หลังเก่า)
101
๔๖ ง
1036
๑๐ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๗
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน
101
๕๕ ง ฉบับพิเศษ
8
๒๗ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๗
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน
101
๕๕ ง ฉบับพิเศษ
9
๒๗ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๗
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน
101
๑๒๕ ง
3254
๑๘ กันยายน พ.ศ.๒๕๒๗
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน
101
๑๔๖ ง
3851
๑๖ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๗
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง แก้ไขเพิ่มเติมความในประกาศขึ้นทะเบียนศิลปโบราณวัตถุ
101
๑๗๐ ง
4561
๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๒๗
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนศิลปวัตถุ [๑. พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปล้านนา ๒. พระพุทธรูปนาคปรก ปางสมาธิ ศิลปลพบุรี] (จำนวน ๒ เรื่อง))
102
๒ ง ฉบับพิเศษ
6
๔ มกราคม พ.ศ.๒๕๒๘
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน (จำนวน ๒ เรื่อง)
102
๓๑ ง
1204
๑๒ มีนาคม พ.ศ.๒๕๒๘
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน (จำนวน ๓ เรื่อง)
102
๓๑ ง
1206
๑๒ มีนาคม พ.ศ.๒๕๒๘
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน
102
๖๕ ง
2476
๒๘ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๒๘
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน (จำนวน ๕ เรื่อง)
102
๑๒๘ ง
4492
๑๗ กันยายน พ.ศ.๒๕๒๘
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน (จำนวน ๒ เรื่อง)
102
๑๒๘ ง
4497
๑๗ กันยายน พ.ศ.๒๕๒๘
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน (จำนวน ๑๘ เรื่อง)
102
๑๘๐ ง ฉบับพิเศษ
127
๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๒๘
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน (จำนวน ๘ เรื่อง)
102
๑๘๐ ง ฉบับพิเศษ
145
๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๒๘
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน [วัดแจ้ง ตำบลบ่อย่าง]
103
๖๕ ง
1799
๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน [ภูเขาน้อย จังหวัดสงขลา]
103
๖๕ ง
1800
๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน [ภูเขาประสงค์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี]
103
๖๕ ง
1801
๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน [หอไตรเก่า วัดพระธาตุลำปางหลวง จังหวัดลำปาง]
103
๖๕ ง
1802
๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน [สำนักงานที่ดินจังหวัดพระนครศรีอยุธยา]
103
๖๕ ง
1803
๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน [พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติน่าน จังหวัดน่าน]
103
๖๕ ง
1804
๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน [วัดหนองจริน จังหวัดเชียงใหม่]
103
๖๕ ง
1805
๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน [วัดเลาเลียง จังหวัดเชียงใหม่]
103
๖๕ ง
1806
๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน [วัดอุ้มโอ จังหวัดเชียงใหม่]
103
๖๕ ง
1807
๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน [วัดหนองหญ้าแพรก จังหวัดเชียงใหม่]
103
๖๕ ง
1808
๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน [วัดป่าดู่ จังหวัดเชียงใหม่]
103
๖๕ ง
1809
๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน [วัดเกตุน้อย จังหวัดเชียงใหม่]
103
๖๕ ง
1810
๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน [วัดป่าอ้อย จังหวัดเชียงใหม่]
103
๖๕ ง
1811
๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน [วัดป่าคา หรือกุญชร จังหวัดเชียงใหม่]
103
๖๕ ง
1812
๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน [วัดช้างเผือก จังหวัดเชียงใหม่]
103
๖๕ ง
1813
๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน [วัดเจดีย์แดงใน จังหวัดเชียงใหม่]
103
๖๕ ง
1814
๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน [วัดเชียงของ (กู่พม่า) จังหวัดเชียงใหม่]
103
๖๕ ง
1815
๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน [วัดแสนตาห้อย จังหวัดเชียงใหม่]
103
๖๕ ง
1816
๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน [วัดกู่ขาว จังหวัดเชียงใหม่]
103
๖๕ ง
1817
๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน [วัดพระเจ้าอมเมี่ยง จังหวัดเชียงใหม่]
103
๖๕ ง
1818
๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน [เจดีย์แดง จังหวัดเชียงใหม่]
103
๖๕ ง
1819
๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน [วัดร่มโพธิ์ จังหวัดเชียงใหม่]
103
๖๕ ง
1820
๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน [วัดหนองหล่ม จังหวัดเชียงใหม่]
103
๖๕ ง
1821
๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน [วัดแสนเศร้า จังหวัดเชียงใหม่]
103
๖๕ ง
1822
๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน [วัดธาตุกลาง จังหวัดเชียงใหม่]
103
๖๕ ง
1823
๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน [เนินโบราณสถานใกล้วัดป่าแดง จังหวัดเชียงใหม่]
103
๖๕ ง
1824
๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน [วัดกู่เสือ จังหวัดเชียงใหม่]
103
๖๕ ง
1825
๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน [วัดเขียนบางแก้ว จังหวัดพัทลุง]
103
๖๕ ง
1826
๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนศิลปโบราณวัตถุ
103
๗๙ ง ฉบับพิเศษ
1
๑๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๒๙
กรมศิลปากรขอเชิญชวนเด็กและเยาวชน ร่วมกิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี ๒๕๕๖ ในวันเสาร์ที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๕๖ ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุทยานประวัติศาสตร์ หอสมุดแห่งชาติ หอจดหมายเหตุแห่งชาติทั่วประเทศ เด็กๆ ที่สนใจสามารถติดต่อเข้าร่วมกิจกรรมในหน่วยงานในสังกัดกรมศิลปากรใกล้บ้าน ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
การจัดกิจกรรมในส่วนกลาง มีดังนี้
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กิจกรรมประกอบด้วย กิจกรรมบนเวที ดนตรีประกอบการเล่านิทาน ,การแสดงของเด็กและเยาวชน กิจกรรมด้านวิชาการ กิจกรรมตอบปัญหา, กิจกรรมแรลลี่, กิจกรรมเปิดโลกกว้างสู่อาเซียน กิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อเด็กและเยาวชน ระบายสี, งานประดิษฐ์จากดินฟีโม่, ชวนน้องปั้นดิน กิจกรรมสันทนาการ โยนห่วงยาง, ปิดลูกโปง, เก้าอี้ดนตรี และกิจกรรมต่างฯ อีกมากมาย สำหรับเด็กๆที่เข้าร่วมกิจกรรม จะได้รับของขวัญของรางวัลทุกคน
- สำนักการสังคีตจัดการแสดงรายการศิลปากรคอนเสิร์ตรอบพิเศษ ชุด “Children’s Day Concert” อำนวยเพลงโดย นายสถาพร นิยมทอง การแสดงจะเป็นการบรรเลงและการขับร้องจากศิลปินกรมศิลปากรร่วมกับสถานศึกษาและสถาบันการดนตรีที่มีชื่อเสียง อาทิ โรงเรียนหลักสูตรการดนตรีกรุงเทพมหานคร โรงเรียนดนตรีวีมุส โรงเรียนราชินี โรงเรียนปราโมชวิทยา รามอินทรา โรงเรียนโพธิสารพิทยากร ตลอดจนเครือข่ายศิลปินจากสถานศึกษา เข้าร่วมฟังได้โดยไม่เก็บค่าบัตรเข้าชม
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เรือพระราชพิธีกิจกรรมประกอบด้วย การบรรยายเกี่ยวกับพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เรือพระราชพิธี และตอบคำถามรับของรางวัล การตอบปัญหาเกี่ยวกับวันเด็ก เรื่องทั่วไป เรื่องอาเซียน การเล่นเกมส์เก้าอี้ดนตรี การต่อจิกซอว์ และกิจกรรมสันทนาการอื่นๆ เช่น การแข่งร้องเพลง การแข่งเต้น
- สำนักหอสมุดแห่งชาติ กิจกรรมประกอบด้วย การประกวดคัดลายมือ การวาดภาพระบายสี เล่นเกมและกิจกรรมต่างๆ สร้างความรักความอบอุ่นในครอบครัว ลุ้นรับของรางวัลมากมาย พร้อมทั้งบริการอาหารเครื่องดื่มและรับของรางวัล ฟรีตลอดงาน
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป จัดร่วมกับพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ศิลป์ พีระศรี อนุสรณ์ กิจกรรมประกอบด้วย การแข่งขันประกวดวาดภาพระบายสี, ซุ้มกิจกรรมศิลปะ โดยคณะจารย์ นักศึกษาจากสถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากรวิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ศิษย์เก่าสถาบันบัณทิตพัฒนศิลป์, การแข่งขันแรลลี่ตอบปัญหาชิงรางวัล ด้านศิลปะ กิจกรรมสันทนาการ เช่น ดนตรี ประกวดร้องเพลง เกม ฯลฯ โดยความร่วมมือกับสำนักศิลปกรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม, ฉาย DVDแนะนำ และนำชมพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป ให้แก่เยาวชนและผู้ปกครองที่เข้าร่วมกิจกรรม รวมทั้งบริการอาหารกลางวันและเครื่องดื่ม
- หอสมุดแห่งชาติเขตลาดกระบัง เฉลิมพระเกียรติ กิจกรรมประกอบด้วย การแสดงรำอวยพร การบรรเลงเพลง จากวงดนตรี “วีรพล” การแข่งขันตอบปัญหา การแสดงบนเวที ประกวดร้องเพลง การแข่งขันวาดภาพ การแข่งขันเรียงความ เกมการละเล่น พร้อมแจกของขวัญของรางวัลมากมาย
กิจกรรมในส่วนภูมิภาค อาทิ
- อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย กิจกรรมประกอบด้วย การละเล่น เกมต่างๆ การตอบปัญหา การประกวดร้องเพลง และแจกของรางวัล
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครคีรี กิจกรรมประกอบด้วย การประกวดวาดภาพ ระบายสี การปั้นตุ๊กตา การประกวดร้องเพลงและการแสดงออกบนเวที ฯลฯ
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สุรินทร์ กิจกรรมประกอบด้วย การแสดงบนเวทีโดยเยาวชนจากโรงเรียนหรือชุมชนต่างๆ ในจังหวัดสุรินทร์ การละเล่นเกมต่างๆ บนเวที ฉายภาพยนตร์ตลอดทั้งวัน และจับฉลากชิงรางวัล
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น กิจกรรมประกอบด้วย กิจกรรมสันทนาการ การแสดงบนเวทีของกลุ่มเด็กนักเรียน การแสดงความสามารถ เล่นเกมตอบปัญหาชิงรางวัล รวมทั้งแจกของรางวัล อาหารและเครื่องดื่ม
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ชาวนาไทย สุพรรณบุรี กิจกรรมประกอบด้วย การแนะนำพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติชาวนาไทย ด้วยวีดิทัศน์ การบรรยายความรู้เกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ของพิพิธภัณฑ์/ศัพท์น่ารู้ เกมตอบคำถามและเกมที่เกี่ยวข้องกับพิพิธภัณฑ์/ข้าวและการทำนา
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ จัดกิจกรรม “ค่ายเยาวชนสุขสันต์ พิพิธภัณฑ์หรรษา” กิจกรรมเนื่องในวันเด็กแห่งชาติ ให้เยาวชนได้เข้าชมพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ และเรียนรู้การปั้นตุ๊กตาพื้นบ้านล้านนาจากครูภูมิปัญญาล้านนา ในวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๕๕ ณ โรงเรียนในถิ่นทุรกันดาร ภายในจังหวัด สุพรรณบุรี และจังหวัดใกล้เคียง
ฯลฯ
นอกจากนี้กรมศิลปากรยังเปิดให้เด็กๆ เข้าชมพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ และอุทยานประวัติศาสตร์ทั่วประเทศ โดยไม่เสียค่าธรรมเนียมเข้าชมอีกด้วย สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สถานที่ : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุทยานประวัติศาสตร์ หอสมุดแห่งชาติ หอจดหมายเหตุแห่งชาติทั่วประเทศติดต่อ : หน่วยงานในสังกัดกรมศิลปากรใกล้บ้าน ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค
ไม่เสียค่าใช้จ่าย
วันพุธที่ ๓ เมษายน ๒๕๖๒
เวลา ๐๙.๐๐ น.
คณะครูและนักเรียนโรงเรียนสุโขทัยวิทยาคม
อ. เมือง จ. สุโขทัย
จำนวน ๒๑๕ คน
เข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น
โดยมีนางแพรว ธนภัทรพรชัย และนายสัมฤทธิ์ ภูดวง (นักศึกษาฝึกประสบการณ์) เป็นวิทยากรนำชม
จัดแสดงประวัติความเป็นมาและศิลปวัฒนธรรมของกลุ่มชนต่างๆที่อาศัยในจังหวัดสุพรรณบุรี ตั้งแต่ชุมชนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ โดยมีกลุ่มชนสำคัญๆ ได้แก่ ชายไทยพื้นบ้าน ชาวไทยเชื้อสายจีน ชายไทยเชื้อสายละว้าชายไทยเชื้อสายลาวครั่ง ชายไทยเชื้อสายลาวโซ่งหรือไทยทรงดำ ฯลฯ โดยใช้สื่อเป็นหุ่นรูปบุคคลเชื้อสายต่างๆ ขนาดเท่าจริงประกอบฉากบ้านเรือนและเสียงบรรยายร่วมกับสื่อระบบโสตทัศนูปกรณ์
ดินแดนพื้นที่ของจังหวัดสุพรรณบุรีมีหลักฐานการอยู่อาศัยของกลุ่มคนยุคแรกมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ดำรงชีพอยู่แบบเร่ร่อนด้วยการหาของป่าและล่าสัตว์ มีการประดิษฐ์เครื่องมือหินรูปแบบต่างๆขึ้นเพื่อใช้สอย ต่อมาจึงรู้จักตั้งถิ่นฐานเป็นหลักแหล่งอยู่บริเวณ ริมน้ำและพัฒนาการดำรงชีพด้วยการเพาะปลูกเลี้ยงสัตว์ เรียนรู้การนำแร่ธาตุโลหะมาประดิษฐ์เครื่องมือเครื่องใช้และเครื่องประดับ และได้พัฒนาขึ้นเมื่อมีการติดต่อกับชุมชนภายนอกในเวลาต่อมา โดยเฉพาะพ่อค้า นักเดินทางแสวงโชคนักบวชจากอินเดีย ที่เข้ามาพร้อมกับศาสนา ความเชื่อ และวัฒนธรรมอันเป็นแบบแผนของตนและได้ถ่ายทอดแก่คนในท้องถิ่น เกิดการผสมผสานทางวัฒนธรรมท้องถิ่นเข้ากับอิทธิพลจากภายนอกเกิดเป็นรูปแบบวัฒนธรรมที่มีลักษณะเฉพาะที่รู้จักในนามวัฒนธรรมทวารวดี ที่มีศูนย์กลางความเจริญอยู่ที่เมืองอู่ทอง ซึ่งพบ หลักฐานโบราณสถาน โบราณวัตถุจำนวนมากทั้งพระพุทธรูป ธรรมจักร และพระพิมพ์ เป็นต้น
ก่อนที่เมืองจะร้างลงอาจเกิดจากการสร้างชุมชนใหม่ตามชายฝั่งทะเล (ในอดีต) ขึ้นมาแทนที่ เช่น ชุมชนโบราณนครชัยศรี ในจังหวัดนครปฐม ชุมชนโบราณทุ่งเศรษฐี ในจังหวัดเพชรบุรี หรืออาจเนื่องมาจากปัญหาภายในของเมือง เช่น การเปลี่ยนเส้นทางเดินของแม่น้ำ หรือโรคระบาดครั้งใหญ่ ในราวพุทธศตวรรษที่ 17 – 18 ก็พบหลักฐานที่แสดงว่ามีการตั้งถิ่นฐานของชุมชนขนาดใหญ่บริเวณกลางที่ราบลุ่ม ระหว่างแม่น้ำท่าคอยและแม่น้ำสุพรรณบุรี ในเขตอำเภอสามชุกที่เรียกกันว่าโบราณสถานเนินทางพระที่แสดงถึงอิทธิพลวัฒนธรรมจากอาณาขอมซึ่งเจริญรุ่งเรืองอยู่ในขณะนั้น
สมัยอยุธยาเกิดศูนย์กลางแห่งใหม่ขึ้นบริเวณลุ่มแม่น้ำสุพรรณบุรีซึ่งปรากฏชื่อในจารึกสมัยสุโขทัยว่าสุพรรณภูมิและต่อมาในสมัยต้นกรุงศรีอยุธยาจึงปรากฏนามที่ใช้เรียกว่า สุพรรณบุรี เป็นครั้งแรกในเอกสารประวัติศาสตร์ สมัยอยุธยากล่าวถึงขุนหลวงพะงั่ว ผู้ครองเมืองสุพรรณบุรี ซึ่งมีความสัมพันธ์ทางเครือญาติกับสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ปฐมกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ซึ่งต่อมาได้ขึ้นครองราชเป็นกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาอันถือเป็นจุดเริ่มต้นของพระมหากษัตริย์ราชวงศ์สุพรรณภูมิที่ได้ปกครองกรุงศรีอยุธยาต่อเนื่องมาตั้งแต่ พ.ศ.1913 (ยกเว้น ช่วง พ.ศ.1931 – 1952)จนถึง พ.ศ. 2112กระทั่งเมืองสุพรรณบุรีได้เสื่อมสลายลงไปพร้อมกับ การเสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่าใน พ.ศ.2310 จากนั้นเมื่อเกิดศูนย์กลางแห่งใหม่ขึ้นที่กรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ เมืองสุพรรณบุรีจึงถือเป็นเมืองชั้นนอก และเป็นเขตที่พระราชทานให้เป็นที่อยู่อาศัยของกลุ่มคนเชื้อสายเขมร และลาวต่าง ๆ ที่ถูกกวาดต้อนมาจากหัวเมืองต่าง ๆเมื่อประกอบกันเข้ากับกลุ่มชาติพันธุ์ที่อาศัยมาแต่เดิมและผู้ที่อพยพเข้ามา ทำกิน ทำให้จังหวัดสุพรรณบุรีในวันนี้เป็นดินแดนที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมแห่งหนึ่งในประเทศไทย
วันพุธที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๖๒เวลา ๑๑.๔๐ น.คณะคุณครู นักเรียน และผู้ปกครอง โรงเรียนบ้านดอนกลอยอำเภอพิบูลย์รักษ์ จังหวัดอุดรธานีจำนวน ๑๖๒ คนเข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเชียงโดยมีนายสุพัฒน์ สุทธิบุญ นายเด่น เกี้ยวพิมายเป็นวิทยากรนำชม
นางกันยา แต้เจริญวิริยะกุล ผู้อำนวยการหอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ ร.๙ นครราชสีมา พร้อมด้วยข้าราชการและเจ้าหน้าที่หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ ร.๙ นครราชสีมา เข้าร่วมประชุมสภากาแฟ จังหวัดนครราชสีมา เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างหัวหน้าส่วนราชการในจังหวัด วันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ณ ชานชาลา สถานีรถไปนครราชสีมา อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา