ค้นหา

รายการที่พบทั้งหมด 40,813 รายการ

ผู้แต่ง : เอื้อ มณีรัตน์ ปีที่พิมพ์ : 2541สถานที่พิมพ์ : ขอนแก่น สำนักพิมพ์ : ขอนแก่นการพิมพ์      ความหนาวเย็นของอากาศ ธรรมชาติภูเขาและป่า กิริยามารยาทอันอ่อนโยน วาจาอ่อนหวาน ตลอดจนความสวยของสาวเหนือ ล้วนเป็นเสน่ห์ดึงดูดนักท่องเที่ยว ทั้งคนไทย และต่างประเทศให้ไปเที่ยวจังหวัดต่างๆในภาคเหนือ โดยเฉพาะเขตที่เรียกว่า ล้านนา ซึ่งประกอบด้วย จังหวัดต่างๆหลายจังหวัด เช่น เชียงราย เชียงใหม่ ลำปาง แพร่ และน่าน เสน่ห์ของไม้ดอกเมืองเหนือ มีอิทธิพลชวนให้หลงใหลใฝ่ฝันของคนไทยทั่วไป ยิ่งการเกษตรได้รับพัฒนาไม้ดอกเมืองเหนือจึงกลายเป็นสินค้าสำคัญ การบรรยายถึงล้านนาในปัจจุบันคงสู้ไปดูด้วยตาไม่ได้ สำหรับตำนานในอดีต จะซาบซึ้งได้ต้องอาศัยกวี ผู้มีความสามารถ ผลงงานของ คุณเอื้อ มณีรัตน์ ที่พรรณนาเรื่องราวเมืองเหนือ ภายใต้ชื่อ ลำนำล้านนา จึงเหมาะสมอย่างยิ่ง กว่า 700 บทกลอน และเกือบ 70 เรื่อง


นางสาวดวงกมล ยุทธเสรี ผู้อำนวยการสำนักศิลปากรที่ ๖ สุโขทัย และ ร.อ.บุณยฤทธิ์ ฉายสุวรรณ ผู้อำนวยการอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ได้เข้าร่วมประกอบพิธีบวงสรวง ก่อสร้างพระเมรุมาศจำลอง ในพิธีถวายดอกไม้จันทน์ งานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ ร.9  วันที่ 14 กันยายน 2560 มื่อเวลา 10.09 น ที่สนามฟุตบอลโรงเรียนเทศบาลวัดไทยชุมพล ตำบลธานี อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย นายปิติ แก้วสลับสี ผู้ว่าราชการจังหวัดสุโขทัย พร้อมด้วย นายวรนิติ์ มุตตาหารัช รองผู้ว่าราชการจังหวัดสุโขทัย และประชาชน กว่า 100 คน ร่วมพิธีบวงสรวง ก่อสร้างพระเมรุมาศจำลอง ในพิธีถวายดอกไม้จันทน์ งานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 โดยผู้ว่าราชการจังหวัดสุโขทัย จุดธูปเทียนสักการะภูมิเจ้าที่ บริเวณโต๊ะเครื่องสังเวย พราหมณ์ ประกอบพิธีบรวงสรวง จากนั้น ผวจ.สุโขทัย ปักธูปที่เครื่องสังเวย โปรยข้าวตอกดอกไม้บริเวณโต๊ะที่ตั้งเครื่องสังเวย พระสงฆ์ 9 รูป เจริญพระ เจริญพระพุทธมนต์ ประธานในพิธีตอกหมุดไม้มงคล 9 ชนิด พระสงฆ์อนุโมทนา เป็นอันเสร็จพิธี


ศูนย์ข้อมูลข่าวสารกรมศิลปากร ชื่อเรื่อง เล่มที่ ตอนที่ หน้า วันที่ประกาศ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน (วัดสวนหลวงค้างคาว ป้อมเพชร วัดพระบรมพุทธาวาสและวัดสิงหาราม วัดขุ่นเมืองใจ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) 112 พิเศษ ๒๒ ง 22 ๒๓ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๓๘ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนและกำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน (คลังเก็บฝิ่น กรุงเทพมหานคร วัดเพลง (ร้าง) จังหวัดราชบุรี วัดหน้าพระธาตุ (พระอุโบสถ และหอไตร) จังหวัดนครราชสีมา เจดีย์เก่าวัดเก๋ง จังหวัดระยอง สำนักงานที่ดินจังหวัดเพชรบุรี (หลังเก่า) วัดเขาเจด 112 พิเศษ ๓๙ ง 8 ๖ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๓๘ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง รายชื่อสถานประกอบการค้าที่ได้รับใบอนุญาตให้ทำการค้าโบราณวัตถุหรือศิลปวัตถุ 112 พิเศษ ๔๘ ง 13 ๒๒ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๘ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนและกำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน (ในเขตท้องที่กรุงเทพมหานครและจังหวัดอุบลราชธานี) 112 ๕๙ ง 13 ๒๕ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๓๘ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน (ในเขตท้องที่อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) 112 ๕๙ ง 14 ๒๕ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๓๘ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนและกำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน (ตึกขุนอำไพพาณิชย์ ตำบลเมืองใต้ อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ) 112 ๖๕ ง 11 ๑๕ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๓๘ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง รายชื่อสถานประกอบการค้าที่ได้รับอนุญาตให้ทำการค้าโบราณวัตถุหรือศิลปวัตถุ 113 พิเศษ ๓ ง 2 ๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๙ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนและกำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน (วัดบุคโล เจดีย์ยุทธหัตถี บ่อน้ำโบราณบ้านหัวซา สำนักงานขายประจำประเทศไทย ภาคใต้ตอนบน บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)) 113 พิเศษ ๓ ง 3 ๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๙ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน (วัดลังกา (ลงกา) วัดสะพานนาค (ตะพานนาค) (ร้าง) เทวสถาน (ร้าง) วัดป่าสัก (ร้าง) วัดสามปลื้ม วัดอโยธยา) 113 พิเศษ ๓ ง 4 ๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๙ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณวัตถุและศิลปวัตถุ (จำนวน ๒๐๐ รายการ ที่มิได้อยู่ในความครอบครองของกรมศิลปากร) 113 พิเศษ ๔๕ ง 3 ๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๙ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง เพิกถอนการขึ้นทะเบียนโบราณสถาน [เพิกถอนโบราณสถานเรือนทรงไทย เลขที่ ๒๖๙ ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ตามประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน ที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๐๒ ตอนที่ ๑๒๘ วันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๒๘] 113 ๔๙ ง 33 ๑๘ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๓๙ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถานและกำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน (วัดใหม่ทองเสน วัดจอมสุดาราม (วัดไพรงาม) วังกรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ (วังใหม่)) 113 พิเศษ ๕๐ ง 1 ๑๘ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๙ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถานและกำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน (ศาลากลางจังหวัดปทุมธานี (หลังเดิม) ศาลจังหวัดปทุมธานี (หลังเดิม) ที่ว่าการอำเภอเมืองปทุมธานี (หลังเดิม)) 113 พิเศษ ๕๐ ง 2 ๑๘ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๙ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถานและกำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน (วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์ อาคารพุทธสมาคม (ศาลเก่า) วัดบุปผาราม ศาลากลางจังหวัดตราด (หลังเก่า) ตึกมหาราช ตึกราชินี วัดชนะไชยศรี ปราสาทตาใบ ปราสาทพูลผล ปราสาทหนองผักบุ้งใหญ่ คุกขี้ไก่) 113 พิเศษ ๕๐ ง 3 ๑๘ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๙ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถานและกำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน (วัดเกตการาม วัดบางกุ้ง วัดพวงมาลัย วัดปากน้ำ วิหารวัดแม่น้ำ วัดบางพลับ วัดตรีจินดาวัฒนาราม วัดบางกระพ้อม วัดท่าไชยศิริ วัดห้วยหลวง วัดห้วยโรง วัดเกาะศาลพระ วัดคุ้งกระถิน วัดเขาเหลือ ว 113 พิเศษ ๕๐ ง 5 ๑๘ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๙ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถานและกำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน (วัดมัชฌันติการาม วัดทองสุทธาราม) 113 พิเศษ ๕๐ ง 7 ๑๘ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๙ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถานและกำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน (วัดธรรมาภิรตาราม) 113 พิเศษ ๕๐ ง 8 ๑๘ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๙ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถานและกำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน (สถานีรถไฟกันตัง เขาปินะ ตำหนักโปร่งฤทัย วัดมาตุคุณาราม วัดเสนานุชรังสรรค์ กำแพงจวนเจ้าเมืองตะกั่วป่า วัดคงคาพิมุข เขาล้างบาตร์ อาคารสำนักงานที่ดิน (จังหวัดภูเก็ต) กำแพงจวน เจ้าเมืองระ 113 พิเศษ ๕๐ ง 9 ๑๘ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๙ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถานและกำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน (กรมสรรพาวุธทหารบก วัดตรีทศเทพวรวิหาร) 113 พิเศษ ๕๐ ง 11 ๑๘ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๙ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถานและกำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน (วัดห้วยริน วัดท้าวคำวัง วัดทุ่งอ้อ วัดหางดง วัดยางหลวง วัดบ้านเจียง วัดพระเจ้าทันใจ วัดปทุมคงคา วัดกุดชะนวน วัดถนนคต วัดโนนกุ่ม วัดยองแยง วัดมะเริงน้อย วัดโคกตลาด วัดหน้าพระธาตุ สิมวั 113 พิเศษ ๕๐ ง 12 ๑๘ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๙ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถานเพิ่มเติม [เพิ่มเติมการกำหนดเขตนครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา ให้ครอบคลุมเกาะเมืองอยุธยาและพื้นที่รอบนอกเกาะเมืองทุกด้าน ให้เป็นไปตามที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบในหลักการแผนแม่บทนครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา 114 ๖ ง 40 ๒๑ มกราคม พ.ศ.๒๕๔๐ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถานและกำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน (วัดบ้านป่า อำเภอไชโย จังหวัดอ่างทองวัดตนุทรงธรรม อำเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) 114 พิเศษ ๘๐ ง 1 ๑๒ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๐ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถานและกำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน (ตึกแถวสองฟากถนนแพร่งนราตึกแถวบางส่วนของถนนอัษฎางค์ตึกแถวบางส่วนของถนนตะนาวอาคารโรงเรียนตะละภัฎศึกษา) 114 พิเศษ ๘๐ ง 2 ๑๒ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๐ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถานและกำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน (ศาลาธรรมาสน์สิงห์วัดทุ่งศรีวิไล โบสถ์ (สิม) วัดแก่งตอย จังหวัดอุลบลราชธานี วัดไตรภูมิ (วัดบ้านผือฮี) กู่เมืองบัวกู่กระโดน (วัดธาตุ) ปราสาทหินบ้านหนองคูณ (ดอนขุมเงิน) วัดไตรภูมิคณาจารย 114 พิเศษ ๘๐ ง 3 ๑๒ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๐ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน (ปราสาทหินกอง บ้านหินกอง ตำบลหินกอง อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด) 114 พิเศษ ๘๐ ง 6 ๑๒ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๐ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน (อูบมุงดอนปู่ตาจังหวัดอุบลราชธานี) 114 พิเศษ ๘๐ ง 7 ๑๒ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๐ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน (ปราสาทสด๊กก๊อกธม ตำบลโคกสูง อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว) 114 พิเศษ ๘๑ ง 1 ๑๕ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๐ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน (ลายพระหัตถ์ (จปร) อำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี) 114 พิเศษ ๘๑ ง 2 ๑๕ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๐ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถานและกำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน (กลุ่มโบราณสถานวัดทุ่งป่าผาง กิ่งอำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนครวัดสาวสุวรรณาราม และ วัดเทพพลประดิษฐาราม อำเภอเมือง จังหวัดหนองคายวัดนางเขียวค้อม และวัดช้างเผือก อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัด 114 พิเศษ ๘๑ ง 3 ๑๕ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๐ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถานและกำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน (วัดดีหลวงวัดหนองหอยวัดสลักป่าเก่าวัดสนามชัยวัดบางเขียดวัดศิลาลอยวัดท้ายยอวัดโลการามวัดแหลมพ้อวัดสีหยัง จังหวัดสงขลา) 114 พิเศษ ๘๑ ง 5 ๑๕ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๐ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน (โบราณสถานศาลากลางหลังเก่าฉะเชิงเทรา ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา) 114 พิเศษ ๘๗ ง 1 ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๐ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถานและกำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน (วัดเมืองปอน (ร้าง) และวัดต่อแพ จังหวัดแม่ฮ่องสอนวัดธาตุโขง (ร้าง)วัดธาตุเขียว (ร้าง)วัดร้อยข้อ (ร้าง) จังหวัดเชียงรายวัดเชียงแสน วัดหมื่นพริก (ร้าง) จังหวัดเชียงใหม่ วัดหนองห้า จังหวั 114 พิเศษ ๘๗ ง 2 ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๐




ปราสาทตาเมือน   ที่ตั้ง บ้านหนองคันนา ตำบลตาเมียง อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์   อายุสมัย  อายุราวปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๘ สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗   รายละเอียด                           ปราสาทตาเมือน ตั้งอยู่บนแนวภูเขาบรรทัด ซึ่งเป็นพรมแดนระหว่างประเทศไทยและประเทศกัมพูชาในปัจจุบัน นอกจากโบราณสถานแห่งนี้แล้วในบริเวณใกล้ๆ ยังมีโบราณสถานขอมอีก ๒ แห่ง คือ ปราสาทตาเมือนตู๊จ และปราสาทตาเมือนธม                     รูปแบบแผนผังของปราสาทตาเมือน เป็นลักษณะของโบราณสถานที่เรียกว่า “ธรรมศาลา หรือ ที่พักคนเดินทาง” ซึ่งในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๘ โปรดให้สร้างขึ้นตามเส้นทางที่สำคัญทั่วราชอาณาจักร ธรรมศาลานี้มีลักษณะเป็นปราสาทหลังเดียว ก่อสร้างด้วยศิลาแลงและหินทราย แผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุม ด้านหน้าของปราสาททำเป็นห้องยาวสร้างด้วยศิลาแลง มีประตูเชื่อมต่อกับองค์ปราสาททางด้านทิศตะวันตก ห้องยาวนี้มีผนังด้านหนึ่งเจาะเป็นช่องหน้าต่างเรียงกันเป็นแถว ส่วนผนังอีกด้านหนึ่งทำเป็นหน้าต่างหลอก ด้านหน้ามีประตูทางเข้าออก ๑ ประตู มีทับหลังหินทรายสลักภาพพระพุทธรูปปางสมาธิในซุ้มเรือนแก้ว                      ปัจจุบันปราสาทตาเมือนได้รับการบูรณะแล้ว   การเดินทางจากอำเภอเมืองสุรินทร์ ถนนหมายเลข ๒๑๔ ถึงอำเภอปราสาทเลี้ยวขวาเข้าถนนหมายเลข ๒๔ เลี้ยวซ้ายเข้าถนนหมายเลข ๒๓๙๗ เลี้ยวขวาเข้าถนนหมายเลข ๒๒๔ เลี้ยวซ้ายเข้าถนนหมายเลข ๒๔๐๗ ระยะทาง ๘๐ กิโลเมตร



งานนิทรรศการสำนักช่างสิบหมู่ "สร้างศิลป์ คู่แผ่นดินสยาม ครั้งที่ ๒   เปิดงานวันพฤหัสบดีที่ 23 กรกฎาคม 2558 นี้ ที่สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ถนนพุทธมณฑลสาย5 ศาลายา  นครปฐม   กิจกรรมสาธิต 23-24 กรกฎาคม 2558     สอบถามรายละเอียดติดต่อ 02 482 1399 


โครงการพัฒนาหอสมุดแห่งชาติเพิ่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต ประจำปี 2562   "เล่าเรื่องเมืองนครราชสีมา"   ณ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ ร.9 นครราชสีมา   วันที่ 8 มีนาคม 2562







นิตยสารรายสองเดือน กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม วัตถุประสงค์ : เพื่อเผยแพร่ข้อมูลทางวิชาการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมในสาระสำคัญต่าง ๆ และ เพื่ออนุรักษ์สืบทอดมรดกวัฒนธรรมของชาติ


Messenger