ค้นหา

รายการที่พบทั้งหมด 40,775 รายการ

ชื่อโบราณวัตถุ : ตุ๊กตารูปสัตว์แบบศิลปะ : สมัยก่อนประวัติศาสตร์ชนิด : ดินเผาขนาด : สูง 7.4 เซนติเมตร ยาว 15 เซนติเมตรกว้าง 13.3 เซนติเมตรอายุสมัย : วัฒนธรรมบ้านเชียงลักษณะ : ตุ๊กตาดินเผา รูปสัตว์ประเภทโค หรือกระบือ มีการปั้นขาหน้า และขาหลังรวมกับเป็น 2 ขา มีเขายาวสภาพ : ...ประวัติ : ได้จากการขุดค้น บ้านนาดี ตำบลพังงู  อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานีสถานที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเชียง จังหวัดอุดรธานีแสดงภาพวัตถุหมุน คลิกที่นี่  http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/banchiang/360/model/24/ที่มา: http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/banchiang


ชื่อเรื่อง                     ความสุขของฉันการศึกษาและประเพณีไหว้ครูผู้แต่ง                       กรมศิลปากรประเภทวัสดุ/มีเดีย       หนังสือหายากหมวดหมู่                   นาฏศิลป์ไทย การรำไทยเลขหมู่                      793.31907 ศ528คสถานที่พิมพ์               พระนครสำนักพิมพ์                 ห้างหุ้นส่วนจำกัดศิวพรปีที่พิมพ์                    2505ลักษณะวัสดุ               42 หน้า หัวเรื่อง                     การศึกษาภาษา                       ไทยบทคัดย่อ/บันทึกหนังสือเล่มกล่าวถึงประวัติการตั้งโรงเรียนวิทยาลัยนาฏศิลป์ โดยพลตรี หลวงวิจิตรวาทการ ซึ่งเป็นอธิบดีคนแรกของกรมศิลปากร โรงเรียนนี้มีพิธีพิเศษที่ต้องปฏิบัติเป็นประจำอยู่อย่างหนึ่ง คือ พิธีไหว้ครูนาฏศิลปะและดุริยางคศิลป์ พิธีไหว้ครูประจำปีนี้เป็นพิธีที่ศิลปินทางโขนละคอนและดนตรีได้ปฏิบัติสืบต่อเป็นประเพณีกันมาแต่โบราณ


ชื่อเรื่อง                     ไตรวุฒิเจริญ 3 ประการ กับความชนะในพระพุทธศาสนาผู้แต่ง                       สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (จวน อุฎฐายี)  พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ)ประเภทวัสดุ/มีเดีย       หนังสือหายากหมวดหมู่                   ศาสนาเลขหมู่                      294.3138 ส247ตวสถานที่พิมพ์               พระนครสำนักพิมพ์                 การพิมพ์ปีที่พิมพ์                    2501ลักษณะวัสดุ               180 หน้า หัวเรื่อง                     ธรรมะกับชีวิตประจำวัน                              พิธีกรรมภาษา                       ไทยบทคัดย่อ/บันทึก“ไตรวุฒิเจริญ 3 ประการ” กับ “ความชนะในพระพุทธศาสนา” เป็นเรื่องเหมาะสมกับกาลสมัย เป็นเรื่องที่อ่านง่าย และปฏิบัติตามได้ง่าย  


วันเสาร์ ที่ 9 ธันวาคม 2566 นางอภิญญานุช เผ่าพงษ์คล้าย รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการหอสมุดแห่งชาติจังหวัดสุพรรณบุรี เฉลิมพระเกียรติ พร้อมเจ้าหน้าที่ เข้าร่วมกิจกรรมบรรยายและเสวนาทางวิชาการเรื่อง “จดหมายเหตุพระปาเลไลย ในโครงการ “การศึกษาเอกสารโบราณสมัยรัชกาลที่ 4 เรื่องการบูรณะวัดป่าเลไลยก์ โดยมีพระศรีธวัชเมธี รองเจ้าอาวาสวัดป่าเลไลยก์เป็นประธานโครงการ ท่านพนมบุตร จันทรโชติ อธิบดีกรมศิลปากรเป็นประธานในพิธีเปิด และนางทัศนีย์ เทพไชย อดีตผู้อำนวยการหอสมุดแห่งชาติจังหวัดสุพรรณบุรี เฉลิมพระเกียรติ ตัวแทนคณะกรรมการโครงการกล่าวรายงาน และภายในงานมีนิทรรศการ “วัดป่าเลไลยก์ในหนังสือสมุดไทยโบราณ” โดยหอสมุดแห่งชาติจังหวัดสุพรรณบุรีเฉลิมพระเกียรติ ร่วมกับชมรมนักโบราณคดี(สมัครเล่น)เมืองสุพรรณ , บริการแสกนภาพถ่าย/เอกสารเก่า โดยหอจดหมายเหตุแห่งชาติจังหวัดสุพรรณบุรี และบริการผูกดวงลัคนาราศีเกิด โดยชมรมโหรขรัวตาจู ขอบคุณภาพ : คุณชนินทร์ อรุโณทัย ชมรมนักโบราณคดี(สมัครเล่น)เมืองสุพรรณ


ชื่อโบราณวัตถุ : กำไลสำริดมีร่องรอยเศษเปลือกข้าวแบบศิลปะ : สมัยก่อนประวัติศาสตร์ชนิด : สำริดขนาด : เส้นผ่านศูนย์กลาง 5.4 เซนติเมตรอายุสมัย : สมัยก่อนประวัติศาสตร์ลักษณะ : กำไลสำริด มีร่องรอยของเปลือกข้าวติดอยู่ ประดับตัวกำไล ด้วยกระดิ่งจำนวน 4 แถว แถวละ 2 ลูก มีการตกแต่งกำไลด้วยเส้นขวางรอบตัว สันนิษฐานว่า เป็นของอุทิศให้กับผู้ตาย พร้อมกับเมล็ดสภาพ : ...ประวัติ : ได้จากการขุดค้นที่หลุมขุดค้นวัดโพธิ์ศรีในเมื่อปี  2546สถานที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเชียง จังหวัดอุดรธานีคิวอาร์โค้ด สำหรับเข้าถึงระบบฐานข้อมูล :(ท่านสามารถโหลดและนำไปใช้เพื่อการทำสื่อประชาสัมพันธ์ต่อได้)แสดงภาพวัตถุหมุน คลิกที่นี่  http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/banchiang/360/model/18/ที่มา: http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/banchiang


             วันเสาร์ที่ 6 กรกฎาคม 2567 เวลา 19.00 น. นางสาวสุดาวรรณ หวังศุภกิจโกศล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม เป็นประธานในการจัดการแสดงละครเรื่อง เลือดสุพรรณ รอบปฐมทัศน์  ณ โรงละครแห่งชาติภาคตะวันตก จังหวัดสุพรรณบุรี พร้อมมอบนโยบายให้กรมศิลปากรพัฒนาศักยภาพโรงละครแห่งชาติภูมิภาคเป็นสถานที่จัดกิจกรรมทางศิลปวัฒนธรรม สนับสนุนการท่องเที่ยว ส่งเสริมนโยบายซอฟต์พาวเวอร์ (Soft Power) ของรัฐบาล              รมว. สุดาวรรณ กล่าวว่า กรมศิลปากร จัดการแสดงละครเรื่อง เลือดสุพรรณ เพื่อรำลึกถึงคุณูปการของพลตรี หลวงวิจิตรวาทการ ผู้ประพันธ์ มุ่งหมายให้ผู้ชมเกิดความสมัครสมานสามัคคี และเสียสละเพื่อประเทศชาติ โดยเลือกจัดการแสดงที่โรงละครแห่งชาติภาคตะวันตก จังหวัดสุพรรณบุรี ซึ่งเป็นสถานที่เชื่อมโยงกับเหตุการณ์ในบทละคร ผลจากการดำเนินการในครั้งนี้ได้รับการตอบรับจากประชาชนที่ชื่นชมนาฏดุริยางคศิลป์  ไม่เพียงแต่ประชาชนในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรีเท่านั้น ยังมีประชาชนจากจังหวัดอื่น ๆ ที่สนใจเดินทางมาชมการแสดงและเยี่ยมชมสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญในจังหวัดสุพรรณบุรี โดยกรมศิลปากรได้จัดเส้นทางการท่องเที่ยวประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมในจังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อให้ร้านค้า ร้านอาหาร ที่พัก มีรายได้เพิ่มขึ้น ตามนโยบายกระทรวงวัฒนธรรมในการส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนเชิงวัฒนธรรม และนโยบายรัฐบาลด้านการสร้างรายได้จากการท่องเที่ยว เสริมสร้างเศรษฐกิจฐานรากให้มีความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน               รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม กล่าวอีกว่า เพื่อเป็นการต่อยอดความสำเร็จดังกล่าว จึงได้มอบนโยบายด้านการบริหารจัดการโรงละครแห่งชาติในภูมิภาคทั้งสองแห่ง ได้แก่ โรงละครแห่งชาติภาคตะวันตก สุพรรณบุรี และโรงละครแห่งชาติภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นครราชสีมา ขอให้มีการวางแผนจัดการแสดงที่น่าสนใจและหลากหลายรูปแบบ ทั้งการแสดงโขน ละคร ดนตรีไทย และดนตรีสากล ให้เชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมในท้องถิ่น โดยบูรณาการกับหน่วยงานในพื้นที่ให้มีส่วนร่วมในการจัดการแสดงให้สอดคล้องกับเทศกาลต่าง ๆ ของจังหวัด และเปิดโอกาสให้หน่วยงานภายนอกใช้สถานที่จัดกิจกรรมทางศิลปวัฒนธรรม ทั้งนี้  ได้มอบให้กรมศิลปากรจัดการแสดงละครสดุดีวีรสตรี “ท้าวสุรนารี” ในเดือนตุลาคม เนื่องในโอกาสครบรอบ 197 ปีแห่งการสถาปนาตำแหน่งท้าวสุรนารี โดยร่วมมือกับทางจังหวัดนครราชสีมาต่อไป คาดว่าจะเป็นการแสดงที่ยิ่งใหญ่อีกครั้งหนึ่งของกรมศิลปากรในปีนี้ 



          พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม ขอเชิญชวนทุกท่านเข้าสักการะ 4 สิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำพระราชวังจันทรเกษม หลวงพ่อลพบุรี พระพุทธรูปเก่าแก่อายุกว่า 700 ปี สักการพระนเรศวร พระมหาอุปราชผู้ครองพระราชวังองค์แรก เจ้าพ่อหอส่องกล้อง อารักษ์ประจำวัง และพระคเณศ เทพแห่งความสำเร็จ ในงาน Night at The Palace ย้อนเวลา ชมวัง 4 ศตวรรษ พระราชวังจันทรเกษม เริ่มเปิดให้เข้าชมพระราชวังจันทรเกษม (เฉพาะภายนอกอาคาร) ทุกวันศุกร์ - อาทิตย์ ตั้งแต่ 25 ตุลาคม 2567 เป็นต้นไป ตั้งแต่เวลา 16.30 - 21.00 น. ค่าธรรมเนียมเข้าชม ชาวไทย 20 บาท ชาวต่างชาติ 100 บาท ผู้พิการ และชาวไทยที่มีอายุมากกว่า 60 ปี เข้าชมฟรี สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ได้ที่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โทร. 035 251 586


ผู้แต่ง : ทิว วิชัยขัทคะ ปีที่พิมพ์ : 2530 สถานที่พิมพ์ : เชียงใหม่ สำนักพิมพ์ : ส. ทรัพย์การพิมพ์      การใช้ “ล้านนา” แทน “ลานนา” มิใช่เรื่องทฤษฎีขัดแย้ง แต่หากเป็นการใช้โดยอาศัยหลักฐานและเอกสารทางประวัติศาสตร์ โบราณคดีและเพื่อความถูกต้องในทางอักษรศาสตร์ หลักฐานและเอกสารทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี ล้านนา และ ลานนา ยังคงมีการโต้แย้งถึงการใช้คำว่าอันไหนนั้นถูกต้องกว่ากัน


บทความจากนิตยสารศิลปากร ปีที่ ๕๔ ฉบับที่ ๒ เดือนมีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ คอลัมน์ภาพเก่า-เล่าอดีต : ว่าวไทย โดยบุศยารัตน์ คู่เทียม การเล่นว่าวไทยมีความเป็นมาอย่างไร อ่านได้ในเอกสารที่แนบ


ศูนย์ข้อมูลข่าวสารกรมศิลปากร ชื่อเรื่อง เล่มที่ ตอนที่ หน้า วันที่ประกาศ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 97 ๑๐ ง ฉบับพิเศษ 1 ๒๔ มกราคม พ.ศ.๒๕๒๓ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน 97 ๑๐ ง ฉบับพิเศษ 10 ๒๔ มกราคม พ.ศ.๒๕๒๓ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถานและกำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน 97 ๑๐ ง ฉบับพิเศษ 14 ๒๔ มกราคม พ.ศ.๒๕๒๓ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 97 ๒๕ ง 580 ๑๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๒๓ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนศิลปโบราณวัตถุ 97 ๓๕ ง 722 ๔ มีนาคม พ.ศ.๒๕๒๓ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 97 ๔๑ ง ฉบับพิเศษ 1 ๑๔ มีนาคม พ.ศ.๒๕๒๓ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน 97 ๔๑ ง ฉบับพิเศษ 14 ๑๔ มีนาคม พ.ศ.๒๕๒๓ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 97 ๕๙ ง 1162 ๑๕ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๓ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 97 ๑๐๘ ง 2267 ๑๕ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๒๓ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 97 ๑๒๓ ง 2736 ๑๒ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๒๓ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน 97 ๑๒๓ ง 2741 ๑๒ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๒๓ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนศิลปโบราณวัตถุ 97 ๑๓๘ ง ฉบับพิเศษ 8 ๕ กันยายน พ.ศ.๒๕๒๓ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 97 ๑๕๙ ง 3514 ๑๔ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๓ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน 97 ๑๕๙ ง 3525 ๑๔ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๓ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 97 ๑๖๓ ง 3610 ๒๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๓ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน 97 ๑๖๓ ง 3622 ๒๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๓ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถานและกำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน 97 ๑๖๓ ง 3624 ๒๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๓ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนศิลปโบราณวัตถุ 97 ๑๖๖ ง 3729 ๒๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๓ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง มอบหมายให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดสงขลาเป็นผู้กระทำแทนอธิบดีกรมศิลปากร ในการออกใบอนุญาตส่งหรือนำโบราณวัตถุ หรือศิลปวัตถุ ออกนอกราชอาณาจักร 97 ๑๘๔ ง 4195 ๒ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๒๓ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 98 ๖๓ ง 1206 ๒๘ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 98 ๖๓ ง 1207 ๒๘ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 98 ๖๓ ง 1208 ๒๘ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 98 ๖๓ ง 1209 ๒๘ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 98 ๖๓ ง 1210 ๒๘ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน 98 ๖๓ ง 1211 ๒๘ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน 98 ๖๓ ง 1212 ๒๘ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน 98 ๖๓ ง 1213 ๒๘ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน 98 ๖๓ ง 1214 ๒๘ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน 98 ๑๐๔ ง 2022 ๓๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน 98 ๑๐๔ ง 2023 ๓๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน 98 ๑๐๔ ง 2024 ๓๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน 98 ๑๐๔ ง 2025 ๓๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน 98 ๑๐๔ ง 2026 ๓๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน 98 ๑๐๔ ง 2027 ๓๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน 98 ๑๐๔ ง 2028 ๓๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน 98 ๑๐๔ ง 2029 ๓๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน 98 ๑๐๔ ง 2030 ๓๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน 98 ๑๐๔ ง 2031 ๓๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน 98 ๑๐๔ ง 2032 ๓๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 98 ๑๐๔ ง 2033 ๓๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 98 ๑๐๔ ง 2034 ๓๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 98 ๑๐๔ ง 2035 ๓๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถานและกำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน 98 ๑๐๔ ง 2036 ๓๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 98 ๑๗๗ ง 3671 ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 98 ๑๗๗ ง 3672 ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 98 ๑๗๗ ง 3673 ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 98 ๑๗๗ ง 3674 ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 98 ๑๗๗ ง 3675 ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 98 ๑๗๗ ง 3676 ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 98 ๑๗๗ ง 3677 ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 98 ๑๗๗ ง 3678 ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 98 ๑๗๗ ง 3679 ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 98 ๑๗๗ ง 3680 ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 98 ๑๗๗ ง 3681 ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 98 ๑๗๗ ง 3682 ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 98 ๑๗๗ ง 3683 ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 98 ๑๗๗ ง 3684 ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 98 ๑๗๗ ง 3685 ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 98 ๑๗๗ ง 3686 ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 98 ๑๗๗ ง 3687 ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 98 ๑๗๗ ง 3688 ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 98 ๑๗๗ ง 3689 ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 98 ๑๗๗ ง 3690 ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน 98 ๑๗๗ ง 3691 ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน 98 ๑๗๗ ง 3692 ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน 98 ๑๗๗ ง 3693 ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน 98 ๑๗๗ ง 3694 ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน 98 ๑๗๗ ง 3695 ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๔ ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนศิลปโบราณวัตถุ 98 ๒๐๑ ง 4478 ๘ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๒๔



วันเสาร์ที่ ๑๔ ธันวาคม ๒๕๖๒ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๙.๐๐ น. นางวราภรณ์ วสุนธรารัตน์ ผู้อำนวยการหอสมุดแห่งชาติรัชมังคลาภิเษก เชียงใหม่ เข้าร่วมงาน กิจกรรมเปิดพื้นที่การเรียนรู้สื่อสาธารณะ ภูมิภาคเหนือ ครั้งที่ ๘ “ฝุ่น-ควัน-ฉัน-เธอ” เเละ งานประกาศผล โครงการสื่อศิลป์ ปี ๗ ตอน ภัยพิบัติ ณ ม่อนภูผาแดง บ้านแม่ป๋าม ตำบลปิงโค้ง อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่



วันพฤหัสบดีที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ เวลา ๑๔.๓๐ น.คณะครูและนักเรียนโรงเรียนบ้านโนนดินแดงอ. ภูเขียว จ. ชัยภูมิจำนวน ๖๐ คนเข้าชมพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น โดยมีคุณอรชร พิมพ์พรหม ให้การต้อนรับ


Messenger