ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 40,749 รายการ
ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง(เพลงพื้นบ้าน-อีแซว) ประจำปี พ.ศ. ๒๕๓๙
ประวัติ
แม่ขวัญจิต ศรีประจันต์ มีนามจริงว่านางเกลียว เสร็จกิจ เกิดเมื่อวันที่ ๓ สิงหาคม ๒๔๙๐ ที่อำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบุตรนายอังค์ นางปลด เสร็จกิจ แม่ขวัญจิต เริ่มฝึกร้องเพลงพื้นบ้านกับพ่อไสว วงษ์งามและแม่บัวผัน จันทร์ศรี ตั้งแต่อายุได้ ๑๕ ปี ท่านเป็นผู้ที่สนใจเพลงพื้นบ้านอย่างยิ่ง ประกอบกับมีพรสวรรค์ทางด้านนี้ ทำให้ร้องเพลงพื้นบ้านได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะเพลงอีแซว แม่ขวัญจิต เป็นแม่เพลงที่มีปฏิภาณไหวพริบดี สำนวนกลอนคมคาย เป็นที่จับใจของผู้ชมผู้ฟัง ท่านสามารถนำเหตุการณ์ปัจจุบันมาร้องเป็นเพลงอีแซวเพื่อสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมแก่ประชาชนได้อย่างมีศิลปะ ทำให้มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับของคนทั่วประเทศ จนกลายเป็นแม่เพลงที่เป็นสัญลักษณ์ของแม่เพลงพื้นบ้านแห่งจังหวัดสุพรรณบุรี
ภารกิจที่น่ายกย่องและชื่นชมของแม่ขวัญจิตก็คือท่านจะสละเวลามาเป็นอาจารย์พิเศษ มาเป็นวิทยากรอบรมเพลงพื้นบ้านให้แก่ครู อาจารย์ และนักเรียนที่สนใจ เป็นวิทยากรพิเศษให้ความร่วมมือแก่สถาบันการศึกษา และหน่วยงานต่างๆ ร่วมอนุรักษ์ส่งเสริมศิลปะพื้นบ้านมาโดยตลอด อุปนิสัยท่านเป็นผู้ที่มีความกตัญญู เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เป็นที่ปรากฏแก่สาธารณชน เป็นแบบอย่างที่ดีของสังคม ดังที่ผมเคยกล่าวไว้เมื่อไปร่วมงานพระราชทานเพลิงศพแม่บัวผัน
ชื่อเสียงของแม่ขวัญจิต ศรีประจันต์ ไม่ใช่จะโด่งดังแต่เฉพาะเพลงพื้นบ้าน หากในด้านเพลงลูกทุ่งชื่อเสียงของขวัญจิต ศรีประจันต์ ก็เคยอยู่ในระดับนักร้องลูกทุ่งหญิงแนวหน้าของเมืองไทย คู่กับนักร้องชายชาวสุพรรณที่โด่งดังอีกคนคือไวพจน์ เพชรสุพรรณ เพลงที่ทำให้คนไทยรู้จักขวัญจิต ศรีประจันต์ เป็นอย่างดีก็คือเพลง “ กับข้าวเพชฌฆาต “ แต่งโดยครูจิ๋ว พิจิตร เพลงนี้ก็ใช้ทำนองเพลงฉ่อยซึ่งเป็นเพลงพื้นบ้านนั่นเอง
ผลงาน
แม่ขวัญจิต นอกจากเทปเพลงลูกทุ่งดังกล่าวแล้ว ยังมีเทปเพลงพื้นบ้านอีกหลายชุด ทั้งที่เป็นผลงานของคณะเพลงอีแซวขวัญจิต ศรีประจันต์ และเป็นผลงานที่ขวัญจิต ศรีประจันต์ ร้องร่วมกับนักร้องคนอื่นๆเช่นชัยชนะ บุณโชติ และโดยเฉพาะกับไวพจน์ เพชรสุพรรณร้องร่วมกันไว้หลายชุด นอกจากนี้แม่ขวัญจิตยังได้ให้ความร่วมมือกับทางจังหวัดสุพรรณบุรีร้องเพลงฉ่อยแนะนำจังหวัดสุพรรณบุรีไว้ด้วย
ทางด้านวีดิทัศน์ วีซีดีผลงานของท่านก็มีให้เห็นอยู่ ด้วยความสามารถเป็นผู้เชี่ยวชาญในการร้องเพลงพื้นบ้าน เช่นเพลงอีแซว เพลงฉ่อย เพลงเกี่ยวข้าว เพลงเรือ แหล่ เป็นต้น ผนวกกับความมีน้ำใจในการเผยแพร่ความรู้ และอนุรักษ์เพลงพื้นบ้าน แม่ขวัญจิต ศรีประจันต์ จึงได้รับโล่เชิดชูให้เป็นผู้มีผลงานดีเด่นด้านวัฒนธรรมสาขาศิลปะพื้นบ้านภาคกลาง จากคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ แต่สิ่งที่น่าภาคภูมิใจที่สุดก็คือท่านได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง(เพลงพื้นบ้าน-อีแซว) ประจำปี พ.ศ. ๒๕๓๙
ราชกิจจานุเบกษา
ประกาศกรมศิลปากร
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารกรมศิลปากร
ชื่อเรื่อง
เล่มที่
ตอนที่
หน้า
วันที่ประกาศ
ประกาศพระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้นายอีมันเฟรดีแต่งเครื่องยศกรมศิลปากรชั้นเสวกตรี
34
๐ ง
868
๑๗ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๖๐
ประกาศกรมศิลปากร กำหนดจำนวนโบราณสถานสำหรับชาติ
52
๐ ง
3679
๘ มีนาคม พ.ศ.๒๔๗๘
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดจำนวนโบราณสถานสำหรับชาติ
53
๐ ง
901
๒ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๗๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง แก้ไขกำหนดจำนวนโบราณสถานสำหรับชาติ
53
๐ ง
906
๒ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๗๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดจำนวนโบราณสถานสำหรับชาติ
53
๐ ง
1526
๒๗ กันยายน พ.ศ.๒๔๗๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดจำนวนโบราณสถานสำหรับชาติ
54
๐ ง
2285
๓ มกราคม พ.ศ.๒๔๘๐
แก้คำผิด ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกรมศิลปากร กำหนดจำนวนโบราณสถานสำหรับชาติ เล่ม ๕๒ ตอนที่ ๗๕
54
๐ ง
458
๗ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๘๐
แก้คำผิด ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๕๒ ตอนที่ ๗๕ ประกาศกรมศิลปากร กำหนดจำนวนโบราณสถานสำหรับชาติ หน้า ๓๖๘๒
54
๐ ง
497
๑๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๘๐
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดจำนวนโบราณสถานสำหรับชาติ
55
๐ ง
4005
๒๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๔๘๑
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดจำนวนโบราณวัตถุสถานสำหรับชาติ
57
๐ ง
806
๑๘ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๘๓
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดจำนวนโบราณวัตถุสถานสำหรับชาติ
57
๐ ง
2527
๒๒ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๘๓
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง หลักสูตรและวิธีการสอบวิชาช่างตรี ศิลปินตรี
60
๖๐ ง
3534
๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๘๖
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดบัญชีโบราณวัตถุสถาน
66
๖๔ ง
5280
๒๒ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๙๒
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดโบราณวัตถุสถานแห่งชาติ
67
๑๕ ง
1064
๑๔ มีนาคม พ.ศ.๒๔๙๓
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดจำนวนและขอบเขตโบราณสถานสำหรับชาติ
69
๖๐ ง
3281
๓๐ กันยายน พ.ศ.๒๔๙๕
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง เพิกถอนโบราณสถานสำหรับชาติ
70
๖๓ ง
3697
๖ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๙๖
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดจำนวนและขอบเขตโบราณสถานสำหรับชาติ
71
๓ ง
14
๕ มกราคม พ.ศ.๒๔๙๗
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดจำนวนและขอบเขตโบราณสถานสำหรับชาติ
72
๒ ง
21
๔ มกราคม พ.ศ.๒๔๙๘
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดจำนวนโบราณวัตถุสำหรับชาติ
72
๑๔ ง
381
๑๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๔๙๘
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง เพิกถอนโบราณสถานสำหรับชาติ
72
๙๑ ง
2853
๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๙๘
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง เพิกถอนโบราณสถานสำหรับชาติ
73
๒๕ ง
1060
๒๗ มีนาคม พ.ศ.๒๔๙๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นบัญชีโบราณวัตถุในถ้ำผาปู่ ตำบลนาอ้อ อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย เป็นโบราณวัตถุสำหรับชาติ
73
๔๘ ง
1676
๑๒ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๙๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง เพิกถอนโบราณสถานสำหรับชาติ
73
๕๗ ง
2058
๒๔ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๙๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง เพิกถอนโบราณสถานสำหรับชาติ
73
๖๘ ง
2411
๒๘ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๙๙
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง เพิกถอนโบราณสถานสำหรับชาติ
74
๓๐ ง
784
๒๖ มีนาคม พ.ศ.๒๕๐๐
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง เพิกถอนและขึ้นบัญชีโบราณวัตถุสถานสำหรับชาติ
74
๘๘ ง
2490
๑๕ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๐๐
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดจำนวนและขอบเขตโบราณสถานสำหรับชาติ
74
๙๖ ง
2670
๑๒ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๐๐
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดจำนวนโบราณวัตถุสถานสำหรับชาติ
75
๑๒ ง
352
๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๐๑
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง เพิกถอนโบราณสถานสำหรับชาติ
75
๒๒ ง
838
๑๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๐๑
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง เพิกถอนโบราณสถานสำหรับชาติ
75
๓๔ ง
1411
๒๙ เมษายน พ.ศ.๒๕๐๑
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดจำนวนโบราณวัตถุสถานสำหรับชาติ
75
๔๕ ง
1700
๑๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๐๑
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง เพิกถอนโบราณสถานสำหรับชาติ
75
๔๕ ง
1701
๑๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๐๑
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดจำนวนโบราณสถานสำหรับชาติ
75
๙๐ ง
2888
๔ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๐๑
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดจำนวนโบราณวัตถุสำหรับชาติ
75
๑๐๙ ง
3127
๒๓ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๐๑
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดจำนวนโบราณวัตถุสถานสำหรับชาติ
76
๓ ง
26
๖ มกราคม พ.ศ.๒๕๐๒
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดจำนวนโบราณสถานสำหรับชาติ
76
๙๐ ง
2241
๒๒ กันยายน พ.ศ.๒๕๐๒
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดจำนวนโบราณวัตถุสถานสำหรับชาติ
76
๙๘ ง
2426
๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๐๒
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดจำนวนโบราณสถานสำหรับชาติ
76
๑๐๘ ง
2530
๑๗ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๐๒
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดจำนวนโบราณสถานสำหรับชาติ
76
๑๑๗ ง
2714
๒๒ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๐๒
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดจำนวนโบราณสถานสำหรับชาติ
77
๑๘ ง
781
๘ มีนาคม พ.ศ.๒๕๐๓
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดจำนวนโบราณวัตถุสำหรับชาติ
77
๓๒ ง
1304
๑๙ เมษายน พ.ศ.๒๕๐๓
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดจำนวนโบราณสถานสำหรับชาติ
77
๖๐ ง
1785
๑๙ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๐๓
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดจำนวนโบราณสถานสำหรับชาติ (จังหวัดเชียงราย)
77
๘๑ ง
2131
๔ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๐๓
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดจำนวนโบราณสถานสำหรับชาติ (จังหวัดอุตรดิตถ์)
77
๘๑ ง
2133
๔ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๐๓
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดจำนวนโบราณสถานสำหรับชาติ
78
๕๒ ง
1529
๒๗ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๐๔
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง มอบหมายให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้กระทำแทนอธิบดีกรมศิลปากรในการออกใบอนุญาต
78
๗๗ ง ฉบับพิเศษ
2
๓๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๐๔
แก้คำผิด ระเบียบกรมศิลปากร ฉบับที่ ๒ ฉบับที่ ๓ และ ฉบับที่ ๔ พ.ศ. ๒๕๐๔ เล่ม ๗๘ ตอนที่ ๗๗
78
๘๒ ง
22149
๑๐ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๐๔
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถานสำหรับชาติ
78
๙๔ ง
2351
๑๔ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๐๔
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน
79
๕๘ ง
1468
๒๖ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๐๕
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน
79
๕๘ ง
1469
๒๖ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๐๕
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง เพิกถอนโบราณสถาน
79
๗๑ ง
1712
๗ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๐๕
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน
79
๘๔ ง
1966
๑๑ กันยายน พ.ศ.๒๕๐๕
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง เพิกถอนโบราณสถาน
79
๙๓ ง
2182
๑๖ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๐๕
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน
79
๙๗ ง
2279
๓๐ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๐๕
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณวัตถุ
79
๙๙ ง
2331
๖ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๐๕
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน
79
๑๐๐ ง
2387
๑๓ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๐๕
ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน
80
๒๙ ง
859
๒๖ มีนาคม พ.ศ.๒๕๐๖
โครงการองค์ความรู้เรื่อง ใบเสมาอิสาน เล่มสอง (องค์ความรู้ปี ๒๕๕๒)
ห้องนิทรรศการชั่วคราว จัดแสดงเรื่องราวเกี่ยวกับพัฒนาการของขวานหินในแต่ละยุคสมัย เกี่ยวกับเรื่องของขั้นตอนการทำขวานหิน ตัวอย่างการใช้งานขวานหิน รู้ได้อย่างไรชิ้นไหนคือขวานหิน ทุกหัวข้อมีภาพบรรยายประกอบเด็กๆ สามารถอ่านและเข้าใจได้ง่าย
นอกจากนี้ ยังได้จำลองรูปแบบของขวานหินสามารถถือและถ่ายรูปกับขวานหินโบราณได้ และมีหุ่นรูปการ์ตูนมนุษย์หินถือขวานหินยืนอยู่
วันพฤหัสบดีที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๒
เวลา ๑๕.๐๐ น.
นายเกียรติศักดิ์ จันทรา ผู้ว่าราชการจังหวัดมหาสารคาม พร้อมด้วยคณะ เข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น โดยมีเจ้าหน้าที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น เป็นผู้ให้การต้อนรับ
หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ ร.๙ นครราชสีมา ร่วมกับสำนักหอสมุดแห่งชาติ ดำนินงานโครงการสำรวจเอกสารโบราณ ประจำปีงบประมาณ 2562 เพื่อสำรวจดูแลรักษา ลงทะเบียน และจัดเก็บเอกสารโบราณ ณ วัดบึง (พระอารามหลวง) อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ระหว่างวันที่ 19-25 พฤศจิกายน 2561
รายงานบัญชีงบทดลองและเอกสารประกอบงบทดลอง สำนักศิลปากรที่ ๑๐ นครราชสีมา (เดือนเมษายน ๒๕๖๒)
การบรรยายในหัวข้อ เรื่อง Design Thinking for PMQA 4.0 โดย คุณจุฑามาศ แก้วพิจิตร ผู้อํานวยการหลักสูตรภาวะผู้นํา การจัดการ และนวัตกรรม คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาตร์ ในการอบรมเสริมสร้าง
ความรู้ในการพัฒนา
สู่ระบบราชการ 4.0