ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 41,665 รายการ
หมวดหมู่ พุทธศาสนาภาษา บาลี/ไทยอีสานหัวเรื่อง พิธีศพ แง่ศาสนา พุทธศาสนาประเภทวัสดุ/มีเดีย คัมภีร์ใบลานลักษณะวัสดุ 24 หน้า : กว้าง 5 ซม. ยาว 58 ซม. บทคัดย่อ
เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอม เส้นจาร ฉบับชาดทึบ ได้รับบริจาคมาจากพระอธิการเด่น ปญฺญาทีโป วัดคิรีรัตนาราม ต.ดอนคา อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี ดำเนินการอนุรักษ์เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2534
หมวดหมู่ พุทธศาสนาภาษา บาลี/ไทยหัวเรื่อง พระพุทธเจ้า พระศรีอาริย์ประเภทวัสดุ/มีเดีย คัมภีร์ใบลานลักษณะวัสดุ 30 หน้า : กว้าง 4.5 ซม. ยาว 56 ซม. บทคัดย่อ
เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอม เส้นจาร ฉบับล่องชาด ได้รับบริจาคมาจากพระครูวิมลสังวร วัดแค ต.รั้วใหญ่ อ.เมืองฯ จ.สุพรรณบุรี
เลขทะเบียน : นพ.บ.60/4กห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 42 หน้า ; 3.7 x 53 ซ.ม. : ล่องชาด-ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 39 (382-387) ผูก 5หัวเรื่อง : สังฮอมธาตุ --เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
ชื่อเรื่อง ประชุมเพลงยาว ฉบับหอสมุดแห่งชาติผู้แต่ง สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ประเภทวัสดุ/มีเดีย หนังสือหายากหมวดหมู่ วรรณคดีเลขหมู่ 895.9112082 ป247สถานที่พิมพ์ พระนครสำนักพิมพ์ โรงพิมพ์อักษรบริการปีที่พิมพ์ 2507ลักษณะวัสดุ 436 หน้า หัวเรื่อง ดนตรีภาษา ไทยบทคัดย่อ/บันทึก
นั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. ประชุมพระราชนิพนธ์. พระนคร : กรมศิลปากร, 2511.
ประชุมพระราชนิพนธ์นี้ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์เป็นสองช่วงคือ 1. พระราชนิพนธิ์เมื่อก่อนเสวยราชย์ ได้แก่ โคลงปราบดาภิเษก บทละคอนเรื่องสังข์ศิลป์ไชย และเพลงยาวสังวาส 2. พระราชนิพนธ์เมื่อเสวยราชย์แล้ว ได้แก่ กระแสพระราชดำริเรื่องเมืองเขมร นิทานแทรกในเรื่องนางนพมาศ และบทกลอนเบ็ดเตล็ด
THAI CULTURE, NEW SERIES No. 6
THE KHŌN
BY
H.H. PRINCE DHANINIVAT
KROMAMÜN BIDYALABH BRIDHYĀKORN
AND
DHANIT YUPHO
เขาภูปลาร้า (เขาปลาร้า) ที่ตั้ง : ตำบลลานสัก อำเภอลานสัก,หนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี สิ่งสำคัญ : แหล่งภาพเขียนสีก่อนประวัติศาสตร์ ประวัติและความสำคัญ : เป็นแหล่งโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ สันนิษฐานว่าเป็นสถานที่ที่มนุษย์เมื่อประมาณ ๕,๐๐๐ – ๓,๐๐๐ ปีมาแล้วเขียนภาพเขียนสีที่สะท้อนให้เห็นวิถีชีวิตมนุษย์ในชุมชนบริเวณภูปลาร้าได้เป็นอย่างดี ว่ามีลักษณะชุมชนในสังคมเกษตรกรรมที่มีแบบแผนและพิธีกรรม ภาพที่พบได้แก่ ภาพสัตว์เลี้ยง ภาพคนจูงวัว ภาพขบวนแห่เป็นต้น สภาพปัจจุบัน : ภาพเขียนสีบนเพิงผายังคงอยู่ในสภาพดี พื้นที่โบราณสถาน : ๑๓,๒๔๗ ไร่ ๓ งาน ๔๖ ตารางวา ลักษณะรูปแบบศิลปกรรม : ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ลักษณะการถือครองที่ดินหรือผู้ดูแล : กรมศิลปากร การขึ้นทะเบียน : ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๑ ตอนที่ ๒๐ง วันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๓๗
***บรรณานุกรม***
ผดุงถิ่นยุคข่าวเศรษฐกิจ
ปีที่ 5
ฉบับที่ 210-1
วันที่ 1 ธันวาคม 2523
นายพันตำรวจตรีเจ้าไชยวรเชษฐ์ (มงคลสวัสดิ์ ณะเชียงใหม่). เรื่องทิพจักราธิวงศ์. เชียงใหม่: โรงพิมพ์อะเมริกันเชียงใหม่, 2490.พิมพ์แจกในงานเมรุศพแม่เจ้าจามรี ณะเชียงใหม่ ในมหาอำมาตย์โท เจ้าแก้วนวรัฐฯ เจ้านครเชียงใหม่ เนื้อหา แบ่งเป็น 3 ตอน ตอนที่ 1 รวบรวมประวัติแม่เจ้าจามรี ตอนที่ 2 ลำดับพระเจ้าและเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ นครลำปาง นครลำพูน ผู้เป็นบรรพบุรุษของเจ้าแม่จามรี และตอนที่ 3 เป็นร้อยกรองค่าวซอ ลำดับเจ้า 7 คน เหมาะแก่คนพื้นเมืองภาคเหนือ929.7999593 ท894ทจ