ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 41,340 รายการ
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นครศรีธรรมราช ขอนำเสนอ
วีดิทัศน์ประกอบนิทรรศการพิเศษเนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย ประจำปี ๒๕๖๔ เรื่อง "ผ้าพระบฏ : พุทธศรัทธาบนผืนผ้า" (ตอนที่ ๑)
- ความเป็นมาของผ้าพระบฏ
- ผ้าพระบฏกับประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ
- ไขความรู้โดยพระครูเหมเจติยาภิบาล (ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร)
และโปรดติดตามวีดิทัศน์ ตอนที่ ๒ พร้อมกิจกรรมร่วมสนุกตอบคำถามเพื่อรับของที่ระลึกสุดพิเศษได้ทางหน้าเพจ เร็วๆ นี้
ขอเชิญชวนผู้สนใจเข้าชมนิทรรศการพิเศษ "ผ้าพระบฏ : พุทธศรัทธาบนผืนผ้า" ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นครศรีธรรมราช ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป
-----------------------------------------------------------
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นครศรีธรรมราช
แหล่งเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ในจังหวัดนครศรีธรรมราช
เปิด : วันพุธ-วันอาทิตย์ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๖.๐๐ น.
ปิด : วันจันทร์-วันอังคาร และวันหยุดนักขัตฤกษ์
ค่าเข้าชม : ผู้ใหญ่ ๓๐ บาท ,
นักเรียน นักศึกษา ผู้สูงอายุ พระภิกษุ และนักบวชทางศาสนา เข้าชมฟรี
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ๐๗๕-๓๔๑๐๗๕
ชื่อเรื่อง มงฺคลตฺถทีปนี (มังคลัตถทีปนีอัฏฐกถา) สพ.บ. 310/4หมวดหมู่ พุทธศาสนาภาษา บาลี/ไทยหัวเรื่อง พุทธศาสนา พระสูตร มงคลสูตรประเภทวัสดุ/มีเดีย คัมภีร์ใบลานลักษณะวัสดุ 64 หน้า : กว้าง 5 ซม. ยาว 58 ซม. บทคัดย่อ เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอม เส้นจาร ฉบับล่องชาด ได้รับบริจาคมาจากวัดบ้านหมี่ ต.บางปลาม้า อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี
องค์ความรู้ เรื่อง ใบเสมาสลักภาพพุทธประวัติ ตอน โสตถิยพราหมณ์ถวายหญ้าคา
จัดทำโดย สำนักศิลปากรที่ ๘ ขอนแก่น
ชื่อเรื่อง มหานิปาตวณฺณนา (ทสชาติ) ชาตกฏฐกถา ขุทฺทกนิกายฏฐกถา (มหาชนก-วิธูรบัณฑิต)
สพ.บ. 270/ฆ/1ประเภทวัสดุมีเดีย คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่ พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ 64 หน้า กว้าง4.5 ซ.ม. ยาว 56 ซ.ม. หัวเรื่อง พุทธศาสนา ชาดก เทศน์มหาชาติ คาถาพัน
บทคัดย่อ/บันทึก
เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรธรรมอีสาน ภาษาบาลี-ไทยอีสาน เส้นจาร ฉบับลานดิบ ได้รับบริจาคมาจากวัดบ้านหมี่ ต.บางปลาม้า อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี
ชื่อเรื่อง เวสฺสนฺตรชาตกานิสํสกถา (อานิสงส์เวนสันดร)
สพ.บ. 261/1ประเภทวัสดุมีเดีย คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่ พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ 48 หน้า กว้าง 5 ซม. ยาว 59 ซม.หัวเรื่อง ธรรมะกับชีวิตประจำวัน ชาดก
บทคัดย่อ/บันทึก เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรธรรมอีสาน ภาษาบาลี-ไทยอีสาน เส้นจาร ฉบับลานดิบ ได้รับบริจาคมาจากวัดทุ่งอุทุมพร ต.บางปลาม้า อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี
เลขทะเบียน : นพ.บ.182/1ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 54 หน้า ; 4 x 55 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดาชื่อชุด : มัดที่ 104 (101-109) ผูก 1 (2565)หัวเรื่อง : แปดหมื่นสี่พันธ์ขันธ์ --เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
ฌาปนกิจฺจานิสํสกถา (อานิสงส์ฌาปนกิจฺจกถาพรกาลเถร)
ชบ.บ.64/1-1
เอกสารโบราณ (คัมภีร์ใบลาน)
ชื่อเรื่อง มิลินฺทปญฺหาสงฺเขป (มิลินทปัญหา)
สพ.บ. 322/8
ประเภทวัสดุมีเดีย คัมภีร์ใบลาน
หมวดหมู่ พุทธศาสนา
ลักษณะวัสดุ 34 หน้า กว้าง 5.1 ซม. ยาว 56.7 ซม.
หัวเรื่อง พุทธศาสนา
ชาดก
บทคัดย่อ/บันทึก
เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรธรรมอีสาน ภาษาบาลี-ไทยอีสาน เส้นจาร ฉบับลานดิบ ได้รับบริจาคมาจาก วัดลานคา ต.โคกคราม อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี
เลขทะเบียน : นพ.บ.284/2ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 56 หน้า ; 4.5 x 55 ซ.ม. : ทองทึบ-ล่องชาด-ลานดิบ ; ไม้ประกับธรรมดาชื่อชุด : มัดที่ 120 (253-257) ผูก 2 (2565)หัวเรื่อง : เอกนิปาต--เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
ประวัติศาสตร์และโบราณคดีเมืองจะนะ ตอนที่ ๔ ยุคประวัติศาสตร์ สมัย ร.๕ จนถึงปัจจุบันตอนที่ ๔ จะนะสมัยรัชกาลที่ ๕ ถึงปัจจุบัน
เมื่อมีการปรับปรุงรูปแบบการปกครองเป็นมณฑลเทศาภิบาล และยกเลิกระบบเจ้าเมือง เมืองจะนะจึงมีฐานะเป็นอำเภอเมืองจะนะ ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็นอำเภอบ้านนา และอำเภอจะนะ ตามลำดับ
อำเภอเมืองจะนะ
พ.ศ.๒๔๓๙ มีการปรับปรุงรูปแบบการปกครองเป็นมณฑลเทศาภิบาล จึงมีการปรับเปลี่ยนฐานะของเมืองจะนะจากเมืองขึ้นของเมืองสงขลามาเป็นส่วนหนึ่งของเมืองสงขลา เรียกว่า “อำเภอเมืองจะนะ” โดยแต่งตั้งขุนศรีสารกรรมเป็นนายอำเภอเมืองจะนะ และย้ายที่ตั้งเมืองไปตั้งที่บ้านนาทวี ในขณะนั้นอำเภอเมืองจะนะมีบ้านเรือนจำนวน ๓,๓๑๒ หลังคาเรือน และประชากรรวม ๑๙,๐๕๖ คน (ชาย ๙,๕๖๘ คน หญิง ๙,๔๙๗ คน)
อำเภอบ้านนา
ในพ.ศ.๒๔๔๓ หลวงสาธรประสิทธิผลได้ย้ายที่ตั้งเมืองจะนะไปตั้งที่บ้านนา ในครั้งนั้นได้มีการเปลี่ยนชื่ออำเภอเมืองจะนะเป็น “อำเภอบ้านนา”
อำเภอจะนะ
พ.ศ.๒๕๖๗ พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้เปลี่ยนชื่ออำเภอบ้านนาเป็น “อำเภอจะนะ” เนื่องจากชื่ออำเภอบ้านนา เมืองสงขลา ซ้ำกันกับอำเภอบ้านนาในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ทำให้เกิดความเข้าใจผิดและไม่สะดวกแก่ทางราชการ และหลังจากนี้อำเภอจะนะก็ตั้งอยู่ที่บ้านนามาจนกระทั่งปัจจุบัน โดยแบ่งการปกครองออกเป็น ๑๔ ตำบล คือ แค ตลิ่งชัน สะพานไม้แก่น สะกอม ขุนตัดหวาย คู ป่าชิง บ้านนา คลองเปียะ ท่าหมอไทร น้ำขาว จะโหนง นาหว้า และนาทับ
-------------------------------------------------------------------------
เรียบเรียงข้อมูลและกราฟฟิคโดย นายสารัท ชลอสันติสกุล นักโบราณคดีชำนาญการ กลุ่มโบราณคดี สำนักศิลปากรที่ ๑๑ สงขลา
บทความวิชาการจดหมายเหตุเรื่อง ภาพเก่าเล่าอดีต : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็ฯ เยือนสหรัฐอเมริกาและประเทศในทวีปยุโรปผู้แต่ง : จุฑาทิพย์ อังศุสิงห์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านจดหมายเหตุ กองทุนส่งเสริมงานจดหมายเหตุตีพิมพ์ลงนิตยสารศิลปากร ปีที่ ๔๙ ฉบับที่ ๖ (เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม ๒๕๔๙)หน้า ๗๙-๙๓
รายชื่อบุคคล จำนวน 1 ราย ที่มียอดเงินที่ยังค้างในบัญชี KTB Corporate Online (เลขที่บัญชี 0276034260)น.ส.ณัชชา ชัยธชวงศ์กรุณาติดต่อกลับ กลุ่มคลังและพัสดุ สำนักบริหารกลาง กรมศิลปากร โทร.02-126-6292