ค้นหา

รายการที่พบทั้งหมด 40,643 รายการ

ชื่อเรื่อง                                มหานิปาตวณฺณนา (ทสชาติ) ชาตกฏฐกถา ขุทฺทกนิกายฏฐกถา (มหาชนก-วิธูรบัณฑิต) สพ.บ.                                  270/ฆ/1ประเภทวัสดุมีเดีย                    คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่                               พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ                           64 หน้า กว้าง4.5 ซ.ม. ยาว 56 ซ.ม. หัวเรื่อง                                 พุทธศาสนา                                           ชาดก                                           เทศน์มหาชาติ                                           คาถาพัน บทคัดย่อ/บันทึก เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรธรรมอีสาน ภาษาบาลี-ไทยอีสาน เส้นจาร ฉบับลานดิบ ได้รับบริจาคมาจากวัดบ้านหมี่ ต.บางปลาม้า อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี


ชื่อเรื่อง                                เวสฺสนฺตรชาตกานิสํสกถา (อานิสงส์เวนสันดร) สพ.บ.                                  261/1ประเภทวัสดุมีเดีย                    คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่                               พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ                           48 หน้า กว้าง 5 ซม. ยาว 59 ซม.หัวเรื่อง                                 ธรรมะกับชีวิตประจำวัน                                           ชาดก บทคัดย่อ/บันทึก          เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรธรรมอีสาน ภาษาบาลี-ไทยอีสาน เส้นจาร ฉบับลานดิบ ได้รับบริจาคมาจากวัดทุ่งอุทุมพร ต.บางปลาม้า อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี



เลขทะเบียน : นพ.บ.182/1ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ :  54 หน้า ; 4 x 55 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดาชื่อชุด : มัดที่ 104 (101-109) ผูก 1 (2565)หัวเรื่อง : แปดหมื่นสี่พันธ์ขันธ์ --เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


ฌาปนกิจฺจานิสํสกถา (อานิสงส์ฌาปนกิจฺจกถาพรกาลเถร)  ชบ.บ.64/1-1  เอกสารโบราณ (คัมภีร์ใบลาน)


ชื่อเรื่อง                                มิลินฺทปญฺหาสงฺเขป (มิลินทปัญหา) สพ.บ.                                  322/8 ประเภทวัสดุมีเดีย                    คัมภีร์ใบลาน หมวดหมู่                               พุทธศาสนา ลักษณะวัสดุ                           34 หน้า กว้าง 5.1 ซม. ยาว 56.7 ซม. หัวเรื่อง                                 พุทธศาสนา                                            ชาดก                       บทคัดย่อ/บันทึก           เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรธรรมอีสาน ภาษาบาลี-ไทยอีสาน เส้นจาร ฉบับลานดิบ ได้รับบริจาคมาจาก วัดลานคา ต.โคกคราม อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี


เลขทะเบียน : นพ.บ.284/2ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 56 หน้า ; 4.5 x 55 ซ.ม. : ทองทึบ-ล่องชาด-ลานดิบ ; ไม้ประกับธรรมดาชื่อชุด : มัดที่ 120  (253-257) ผูก 2 (2565)หัวเรื่อง : เอกนิปาต--เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


ประวัติศาสตร์และโบราณคดีเมืองจะนะ ตอนที่ ๔ ยุคประวัติศาสตร์ สมัย ร.๕  จนถึงปัจจุบันตอนที่ ๔ จะนะสมัยรัชกาลที่ ๕ ถึงปัจจุบัน  เมื่อมีการปรับปรุงรูปแบบการปกครองเป็นมณฑลเทศาภิบาล และยกเลิกระบบเจ้าเมือง เมืองจะนะจึงมีฐานะเป็นอำเภอเมืองจะนะ ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็นอำเภอบ้านนา และอำเภอจะนะ ตามลำดับ อำเภอเมืองจะนะ  พ.ศ.๒๔๓๙ มีการปรับปรุงรูปแบบการปกครองเป็นมณฑลเทศาภิบาล จึงมีการปรับเปลี่ยนฐานะของเมืองจะนะจากเมืองขึ้นของเมืองสงขลามาเป็นส่วนหนึ่งของเมืองสงขลา เรียกว่า “อำเภอเมืองจะนะ” โดยแต่งตั้งขุนศรีสารกรรมเป็นนายอำเภอเมืองจะนะ และย้ายที่ตั้งเมืองไปตั้งที่บ้านนาทวี ในขณะนั้นอำเภอเมืองจะนะมีบ้านเรือนจำนวน ๓,๓๑๒ หลังคาเรือน และประชากรรวม ๑๙,๐๕๖ คน (ชาย ๙,๕๖๘ คน หญิง ๙,๔๙๗ คน) อำเภอบ้านนา ในพ.ศ.๒๔๔๓ หลวงสาธรประสิทธิผลได้ย้ายที่ตั้งเมืองจะนะไปตั้งที่บ้านนา ในครั้งนั้นได้มีการเปลี่ยนชื่ออำเภอเมืองจะนะเป็น “อำเภอบ้านนา” อำเภอจะนะ พ.ศ.๒๕๖๗ พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้เปลี่ยนชื่ออำเภอบ้านนาเป็น “อำเภอจะนะ” เนื่องจากชื่ออำเภอบ้านนา เมืองสงขลา ซ้ำกันกับอำเภอบ้านนาในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ทำให้เกิดความเข้าใจผิดและไม่สะดวกแก่ทางราชการ และหลังจากนี้อำเภอจะนะก็ตั้งอยู่ที่บ้านนามาจนกระทั่งปัจจุบัน โดยแบ่งการปกครองออกเป็น ๑๔ ตำบล คือ แค ตลิ่งชัน สะพานไม้แก่น สะกอม ขุนตัดหวาย คู ป่าชิง บ้านนา คลองเปียะ ท่าหมอไทร น้ำขาว จะโหนง นาหว้า และนาทับ  ------------------------------------------------------------------------- เรียบเรียงข้อมูลและกราฟฟิคโดย นายสารัท ชลอสันติสกุล นักโบราณคดีชำนาญการ  กลุ่มโบราณคดี สำนักศิลปากรที่ ๑๑ สงขลา


บทความวิชาการจดหมายเหตุเรื่อง ภาพเก่าเล่าอดีต : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็ฯ เยือนสหรัฐอเมริกาและประเทศในทวีปยุโรปผู้แต่ง : จุฑาทิพย์ อังศุสิงห์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านจดหมายเหตุ กองทุนส่งเสริมงานจดหมายเหตุตีพิมพ์ลงนิตยสารศิลปากร ปีที่ ๔๙ ฉบับที่ ๖ (เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม ๒๕๔๙)หน้า ๗๙-๙๓


รายชื่อบุคคล จำนวน 1 ราย ที่มียอดเงินที่ยังค้างในบัญชี KTB Corporate Online (เลขที่บัญชี 0276034260)น.ส.ณัชชา ชัยธชวงศ์กรุณาติดต่อกลับ กลุ่มคลังและพัสดุ สำนักบริหารกลาง กรมศิลปากร โทร.02-126-6292



วัดบ้านนาซาว หรือ วัดสระแก้วนาซาว ตั้งอยู่หมู่ที่ ๒ บ้านนาซาว ตำบลโนนรัง อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี วัดบ้านนาซาวตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๓๘๗ โดยคนที่อพยพมาจากอำเภอราศีไศลและอำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ ชาวบ้านมาตั้งหมู่บ้านจึงได้สร้างวัดบ้านนาซาวเป็นวัดประจำหมู่บ้าน โดยมีโบราณสถานที่สำคัญ ได้แก่ กุฏิ จำนวนทั้งสิ้น ๒ หลัง . กุฏิหลังที่ ๑ ตามประวัติระบุว่าสร้างเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๖๑ อิทธิพลภาคกลางผสมพื้นถิ่นอีสาน เป็นอาคาร ๑ ชั้น ก่ออิฐถือปูนบนฐานเอวขัน ในผังสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด ๗ ห้อง วางตัวอาคารในแนวทิศตะวันออก-ทิศตะวันตก โครงสร้างอาคารใช้ผนังรับน้ำหนักหลังคาทรงจั่ว โดยต่อหลังคาปีกนกเฉพาะด้านทิศใต้ ใช้เสาก่ออิฐสี่เหลี่ยมรับน้ำหนักหลังคาปีกนก มุงกระเบื้องดินเผา ประดับช่อฟ้า (โหง่) ใบระกาและหางหงส์ หน้าบันเป็นปูนฉาบเรียบ ตกแต่งลายบัวฟันยักษ์ด้านล่าง ผนังแต่ละด้านมีหน้าต่าง ๓ ช่อง สลับกับการทำช่องแสงรูปกากบาท ยกเว้นผนังด้านทิศใต้เป็นประตูทางเข้ามี ๒ ประตู ภายในแบ่งเป็น ๒ ห้อง ด้วยผนังไม้ที่สร้างขึ้นภายหลัง ด้านทิศเหนือภายในกุฏิมีแท่นฐานยาวตลอดทั้งผนัง . กุฏิหลังที่ ๒ ตามประวัติระบุว่าสร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๓ อิทธิพลภาคกลางผสมพื้นถิ่นอีสาน เป็นอาคาร ๒ ชั้น ชั้นล่างก่ออิฐถือปูน ชั้นบนเป็นไม้ โดยเครื่องไม้ที่ใช้เป็นไม้ตะเคียนทั้งหมด อาคารอยู่ในผังสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด ๓ ห้อง วางตัวอาคารในแนวทิศเหนือ-ทิศใต้ โครงสร้างอาคารใช้เสาไม้กลมและผนังรับน้ำหนักหลังคาทรงจั่ว ต่อหลังคาปีกนกสั้นๆ ด้านทิศตะวันออก-ทิศตะวันตก ในอดีตมุงกระเบื้องดินเผาปัจจุบันมุงด้วยสังกะสี ตกแต่งด้วยป้านลมแบบเรียบ หน้าบันตีไม้ในลักษณะช่องสี่เหลี่ยมเรียงตามแนวนอนซ้อนลดหลั่นกันขึ้นไป ผนังชั้นล่างด้านทิศตะวันออกก่ออิฐเป็นวงโค้ง จำนวน ๓ ช่อง เพื่อเป็นประตู เสากรอบประตูเป็นวงโค้งแต่งบัวหัวเสาและนาค บานประตูเป็นไม้แผ่นแกะสลักรูปดอกไม้บริเวณอกเลา ผนังชั้นบนตีไม้ตามแนวดิ่ง มีหน้าต่างในด้านทิศเหนือ-ทิศใต้ จำนวนด้านละ ๒ ช่อง มีหน้าต่างในด้านทิศตะวันออก ๓ ช่อง ยกเว้นด้านทิศตะวันตกไม่มีหน้าต่าง คันทวยเป็นไม้ค้ำยันจากฐานถึงโครงสร้างหลังคา บันไดทางขึ้นอยู่ด้านในอาคาร . กรมศิลปากรประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถาน ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๑๒๖ ง หน้า ๑๑ วันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๘ พื้นที่โบราณสถานประมาณ ๒ ไร่ ๑ งาน ๘ ตารางวา วัดบ้านนาซาวเป็นเจ้าของและผู้ครอบครองโบราณสถานและมีสำนักศิลปากรที่ ๙ อุบลราชธานี ร่วมดูแลรักษา -------------------------------------------- +++อ้างอิงจาก+++ . กองพุทธศาสนสถาน, กรมการศาสนา. ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เล่ม ๑๔. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๓๘. หน้า ๑๑๙ . สำนักงานศิลปากรที่ ๑๑ อุบลราชธานี. รายงานการสำรวจขึ้นทะเบียนโบราณสถานวัดบ้านนาซาว ต.โนนรัง อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี. เอกสารอัดสำเนา, ๒๕๔๔. . สำนักศิลปากรที่ ๙ อุบลราชธานี. โบราณสถานที่ขึ้นทะเบียนแล้วในพื้นที่สำนักศิลปากรที่ ๙ อุบลราชธานี (เล่ม ๑ : จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดอำนาจเจริญ จังหวัดยโสธร จังหวัดมุกดาหาร). อุบลราชธานี : ห้างหุ้นส่วนจำกัด อุบลกิจออฟเซทการพิมพ์, ๒๕๖๓. ข้อมูล : กลุ่มโบราณคดี สำนักศิลปากรที่ ๙ อุบลราชธานี


วิสันต์  บัณฑะวงศ์.  ฮิตเลอร์จอมเผด็จการ.  พระนคร: เสริมวิทย์บรรณาคาร, 2511.             ว่าด้วยเรื่องราวเกี่ยวกับชีวประวัติบุคคลสำคัญของโลกคือ อด๊อลฟ ฮิตเล่อร์ นักการเมืองเยอรมันเชื้อชาติออสเตรีย หัวหน้าพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมันหรือที่รู้จักกันในชื่อ พรรคนาซี โดยนำเสนอในทุกแง่มุมทั้งด้านความอัจฉริยะ จิตวิทยา การทูต การเศรษฐกิจ รัฐประศาสโนบาย เล่ห์เหลี่ยม การเมือง และระบบเผด็จการ เป็นต้น 




          พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ขอเชิญชมนิทรรศการพิเศษเนื่องในโอกาสวันพิพิธภัณฑ์ไทย พุทธศักราช ๒๕๖๕ เรื่อง “พระพุทธศาสนาในเมืองลำพูน” จัดแสดงระหว่างเดือนกันยายน ๒๕๖๕ - สิงหาคม ๒๕๖๖            นิทรรศการครั้งนี้นำเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับพุทธศาสนาในเมืองลำพูน ซึ่งเป็นเมืองสำคัญของภาคเหนือที่เป็นศูนย์กลางทางพระพุทธศาสนาที่สำคัญ ตั้งแต่สมัยหริภุญไชย สืบเนื่องมาในสมัยล้านนาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ ผ่านโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุชิ้นเยี่ยม            ขอเชิญชวนผู้สนใจเรียนรู้ประวัติศาสตร์อารยธรรมเมืองลำพูน ชมการจัดแสดงนิทรรศการพิเศษ “พระพุทธศาสนาในเมืองลำพูน” ณ พิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย จังหวัดลำพูน เปิดทุกวันพุธ - อาทิตย์ เวลา ๐๙.๐๐ น. - ๑๖.๐๐ น. ปิดวันจันทร์ - อังคาร และวันหยุดนักขัตฤกษ์ สอบถามเพิ่มเติม โทร. ๐ ๕๓๕๑ ๑๑๘๖ หรือติดตามข่าวสารกิจกรรมอื่นๆ ได้ทางเฟสบุ๊ก พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ลำพูน


Messenger