ค้นหา

รายการที่พบทั้งหมด 41,355 รายการ

ชื่อเรื่อง                     สพ.ส.15 กลอนสุภาษิตประเภทวัสดุ/มีเดีย       สมุดไทยขาวISBN/ISSN                 -หมวดหมู่                  วรรณคดีลักษณะวัสดุ              57; หน้า : ไม่มีภาพประกอบหัวเรื่อง                    วรรณคดี              ภาษา                       ไทยบทคัดย่อ/บันทึก                   ประวัติวัดป่าเลไลยก์ ต.รั้วใหญ่  อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี มอบให้หอสมุดฯ วันที่ 16 ส.ค.2538 


ทราบกันหรือไม่ว่า.... ที่เมืองโบราณศรีเทพยังมีการพบแนวกำแพงโบราณบนคันดินคูเมืองด้วย ซึ่งถือว่าเป็นเมืองโบราณในยุคทวารวดีที่เดียวที่ยังหลงเหลือหลักฐานอยู่      ------------------------------------------------ ที่มาของข้อมูล : อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ https://www.facebook.com/335850859778277/posts/pfbid02MmYMRfu5csDbpwEfXA319YPFVX7HZVWUuwXstE99tJRPz3icRsMvQKfh7nzCLoZGl/?d=n  


ชื่อเรื่อง                     สมโภชพระอารามหลวงครบ 100 ปี วัดป่าเลไลยก์วรวิหารผู้แต่ง                       -ประเภทวัสดุ/มีเดีย       หนังสือท้องถิ่นISBN/ISSN                 -หมวดหมู่                   พระพุทธศาสนาเลขหมู่                      294.3135 ส272สถานที่พิมพ์               กรุงเทพ   สำนักพิมพ์                 สามลดา  ปีที่พิมพ์                    2562ลักษณะวัสดุ               454 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซม.หัวเรื่อง                     วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร                              สมโภชพระอารามหลวง 100 ปีภาษา                       ไทยบทคัดย่อ/บันทึก            ในวาระครอบศตวรรษแห่งการได้รับการยกวัดป่าเลไลยก์ขึ้นเป็นพระอารามหลวง รวบรวมเนื้อหาทางประวัติศาสตร์บุคคล และโบราณสถาน โบราณวัตถุ 2 เรื่อง พุทธศิลป์ 1 เรื่อง และวรรณคดีไทยเกี่ยวกับขุนช้าง ขุนแผน ที่มีความเกี่ยวข้องกับวัดป่าเลไลยก์วรวิหาร


พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำแพงเพชร ขอแนะนำหนังสือ “สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เจ้าฟ้าศิลปิน ทรงชุบชูชีวินปวงชน” จัดพิมพ์โดยกรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุครบ ๕ รอบ วันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๖๐         เนื้อหาในหนังสือแบ่งออกเป็น ๘ บท ประกอบด้วย บทนำ พระประวัติ บทที่ ๑ ทรงดนตรีเปียโน บทที่ ๒ ทรงขับร้องเพลง บทที่ ๓ ทรงกู่เจิง บทที่ ๔ วันประมงน้อมเกล้าฯ บทที่ ๕ ถักร้อยสร้อยรัก น้ำพระทัยและไมตรีเพื่อผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ยากไร้ บทที่ ๖ ทรงออกแบบเครื่องประดับอัญมณี และบทที่ ๗ ทรงวาดภาพ เพื่อถ่ายทอดพระราชประวัติและพระราชกรณียกิจทางศิลปะในสมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี ซึ่งนอกจากจะมีพระปรีชาสามารถเป็นเลิศในฐานะเจ้าฟ้านักวิทยาศาสตร์แล้ว ยังมีพระปรีชาสามารถในการสร้างสรรค์งานศิลปะหลายแขนง อาทิ งานศิลปะ การประดิษฐ์ ภาพวาดฝีพระหัตถ์ และดนตรี ทรงใช้งานศิลปะเหล่านี้เพื่อประโยชน์ในการบำบัดทุกข์บำรุงสุขให้แก่ประชาชน ดังคำว่า “เจ้าฟ้าศิลปิน ทรงชุบชูชีวินปวงชน” หนังสือเล่มนี้จึงเป็นสิ่งยืนยันพระปรีชาสามารถ และถือเป็นหนังสือจัดเก็บผลงานของสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี ให้เป็นที่ประจักษ์แก่ปวงชนชาวไทย         พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำแพงเพชร ขอน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายพระพรชัยมงคลให้ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน สถิตเป็นมิ่งขวัญของเหล่าพสกนิกรชาวไทยตราบกาลนาน        ทั้งนี้ สามารถเข้าดูเนื้อหาและละเอียดของหนังสือเพิ่มเติมจาก https://www.finearts.go.th/.../Tf9Zqh1F3NQYaccjg5tV1pCc7h...



สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม (สงฺคิณี-มหาปฎฺฐาน) ชบ.บ 147/3 เอกสารโบราณ (คัมภีร์ใบลาน)


สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม (สงฺคิณี-มหาปฎฺฐาน) ชบ.บ 178/5ขเอกสารโบราณ (คัมภีร์ใบลาน)


ชื่อเรื่อง : ปฏิวัติ (REVOLUTION) ชื่อผู้แต่ง : ปากเหล็กปีที่พิมพ์ : 2502 สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์ : โรงพิมพ์พิบูลการพิมพ์ จำนวนหน้า : 364 หน้า สาระสังเขป : ประวัติศาสตร์ทางการเมืองได้มีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่าง ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2501 เพราะเป็นการปฏิวัติอย่างที่ไม่เคยมีใครทำการปฏิวัติมาก่อน ที่กล่าวเช่นนี้ก็หมายความว่าการปฏิวัติครั้งนี้นั้นเป็นไปเพื่อส่วนรวม และเป็นไปเพ่อประชาชน โดยประชาชน สำหรับประชาชน จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ หัวหน้าคณะปฏิวัติ



ประวัติย่อการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลี สมัยรัตนโกสินทร์ ชื่อผู้แต่ง           วิจิตร สมบัติบริบูรณ์ ชื่อเรื่อง            ประวัติย่อการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลี สมัยรัตนโกสินทร์ ครั้งที่พิมพ์        พิมพ์ครั้งที่ ๑ สถานที่พิมพ์      กรุงเทพมหานคร สำนักพิมพ์        โรงพิมพ์เรือนแก้วการพิมพ์ ปีที่พิมพ์           ๒๕๒๓ จำนวนหน้า       ๗๗ : ภาพประกอบ หมายเหตุ         -                    การจัดพิมพ์หนังสือเล่มนี้เป็นความดำริของท่านกรรมการ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด ซึ่งมีความปรารถนาที่จะให้หนังสือเล่มนี้ เป็นหนังสืออนุสรณ์ประจำรุ่น เพื่อจะได้ทราบว่าปีไหน มีใคร วัดและสำนักเรียนใดสอบได้บ้าง


ชื่อเรื่อง : พระประวัติ พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ชื่อผู้แต่ง : ชัยมงคล อุดมทรัพย์ปีที่พิมพ์ : 2504 สถานที่พิมพ์ : พระนคร สำนักพิมพ์ : สันติธรรม จำนวนหน้า : 636 หน้า สาระสังเขป : หนังสือเล่มนี้จัดพิมพ์ขึ้นเพื่อเทิดทูนพระเกียรติคุณของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ โดยได้รวบรวมเรื่องราวจากข้อมูลและหลักฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับพระประวัติของพระองค์ท่าน ทั้งทางด้านการศึกษา การทรงงาน ศาสนา ความเชื่อ ความศรัทธา รวมถึงพระปรีชาสามารถของพระองค์ท่านในด้านการกีฬา งานศิลปะ งานพระนิพนธ์ และชีวิตส่วนพระองค์ เป็นต้น


ชื่อเรื่อง        หลวงจำเนียรเดินทาง ชื่อผู้แต่ง       มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว,พระบาทสมเด็จพระ ครั้งที่พิมพ์     พิมพ์ครั้งที่ 5 สถานที่พิมพ์   กรุงเทพฯ   สำนักพิมพ์     ไทยร่มเกล้า ปีที่พิมพ์        2529 จำนวนหน้า    72 หน้า รายละเอียด                   หลวงจำเนียรเดินทาง พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นบทละครพูด ชวนหัว 4 องค์ ทรงแปลจากละครพูดภาษาฝรั่งเศส ที่ชื่อว่า เลอ วัวยาช เดอ เมอสิเออร์ เปริชอง (Le Voyage de Monsieur Perrichon) ซึ่งเป็นบทประพันธ์ของ เออเจน ลานิช นักละครที่มีชื่อเสียงชาวฝรั่งเศส โดยใช้นามแฝงว่า “ศรีอยุธยา” เรื่องราวกล่าวคือ หลวงจำเนียรวานิชการ เศรษฐีผู้หยิ่งยะโส ไม่เคยเห็นใครดีเกินกว่าตน แต่แล้วเมื่อเขาได้พบกับชายหนุ่มสองคนที่มาหลงรักบุตรสาวของตน ทำให้เขารได้รู้จักคนในหลายแง่มุมมากยิ่งขึ้น และเปลี่ยนทัศนคติไปจากเดิม เรื่องราวดำเนินไปอย่างสนุกสนาน ชวนขัน ได้ทั้งสาระและความเพลิดเพลิน


      หงส์ประดับสันหลังคาหอไตร วัดพระสิงห์ เมืองเชียงใหม่       ศิลปะล้านนา (ฝีมือช่างพื้นบ้าน) พุทธศตวรรษที่ ๒๔-๒๕       ได้มาจากเมืองเชียงใหม่ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๐        ปัจจุบันจัดแสดงอยู่ในห้องล้านนา อาคารประพาสพิพิธภัณฑ์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร        หงส์ เคลือบสีเขียว ใต้ท้องเนื้อดินสีน้ำตาลไม่เคลือบ ทำเป็นรูปสัตว์ปีกคล้ายหงส์ ยกเว้นส่วนท้องเนื้อดินออกสีแดง เดิมหงส์เคลือบสีเขียวชิ้นนี้ประดับอยู่บนสันหลังคาของหอไตร วัดพระสิงห์       หงส์เป็นราชาสัตว์ปีก ในทางพุทธศาสนาเป็นหนึ่งในสัญลักษณ์มงคล ๑๐๘ ประการ* ขณะเดียวกันยังเป็นสัญลักษณ์แห่งความบริสุทธิ์ทางพุทธศาสนา และเป็นบุคลาธิษฐาน** สื่อถึงพระอรหันต์ผู้พ้นกิเลสทั้งปวง  ในงานสถาปัตยกรรมศิลปะล้านนา มักนิยมประดับรูปหงส์ จากเทคนิควิธีต่าง ๆ เช่น ลายคำรูปหงส์ร่วมกับลายหม้อปูรณฆฏะ หรือรูปหงส์ตัวเดียว งานดินเผารูปหงส์ประดับสันหลังคา งานปูนปั้นประดับซุ้มโขงเป็นรูปหงส์หันหน้าเข้าหากัน เป็นต้น ด้วยความเชื่อว่าหงส์จะนำพระธรรม ความบริสุทธิ์มาสู่พุทธสถานแห่งนั้น        สำหรับหอไตรวัดพระสิงห์ มีประวัติว่าสร้างขึ้นในสมัยพระเจ้ากาวิละ ช่วงพุทธศตวรรษที่ ๒๔ และหอ มีการบูรณะครั้งใหญ่ใน พ.ศ. ๒๔๖๙ ในขณะนั้นพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๗) ทรงเสด็จพระราชดำเนินเลียบมณฑลฝ่ายเหนือ พระองค์ได้ทรงเป็นประธานในการบูรณะร่วมกับพลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้านครเชียงใหม่ในขณะนั้น   *ลายมงคลรูปหงส์นั้น ตามคัมภีร์พุทฺธปาทลกฺขณ (ลักษณะพระพุทธบาท) ซึ่งเป็นคัมภีร์ที่บรรยายถึงลายมงคล ๑๐๘ ประการของรอยพระพุทธบาท กล่าวว่า มงคลข้อที่ ๕๔ หังสราชา (หํงสราชา) คือ พระยาหงส์ หมายถึง พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้ไม่ทรงยินดีโลกิยสาระ คือ เงินทองมีแก้ว ๗ ประการ เป็นต้น แต่พระองค์ทรงยินดีในโลกุตตรธรรม คือ มรรค ผล นิพาน ทรงบำเพ็ญประโยชน์เกื้อกูลแก่ชาวโลกทั้ง ๓ มิใช่เพื่อพระองค์เลย จึงได้รับการถวายพระนามว่า หังสราชา   **พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้ให้ความหมายคำว่า “บุคลาธิษฐาน” หมายถึง  มีบุคคลเป็นที่ตั้ง ที่ยกคนหรือสิ่งที่เป็นรูปธรรมอื่น ๆ ขึ้นมาเป็นหลักในการอธิบาย เช่น เปรียบกิเลสเหมือนพญามาร คู่กับ ธรรมาธิษฐาน   อ้างอิง กรมศิลปากร. การวิเคราะห์ลักษณะและความหมายรอยพระพุทธบาทในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร. กรุงเทพฯ: เฮงศักดิ์มั่นคง, ๒๕๕๙. จรีย์ สุนทรสิงห์. วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่. เชียงใหม่: ดาวคอมพิวกราฟิค, ๒๕๔๓ (องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ที่ระลึกเนื่องในพิธีถวายผ้าพระกฐินพระราชทาน ณ วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ วันเสาร์ที่ ๒๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๓). วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์. ศาสตร์ ศิลป์ จิตวิญญาณ วิหารล้านนา. นนทบุรี: เมืองโบราณ, ๒๕๖๕.


เลขทะเบียน : นพ.บ.389/1ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 28 หน้า ; 4.5 x 59 ซ.ม. : ชาดทึบ-ล่องชาด-ลานดิบ ; ไม่มีไม้ประกับชื่อชุด : มัดที่ 144  (40-47) ผูก 1 (2566)หัวเรื่อง : มหามูลนิพพาน--เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


เลขทะเบียน : นพ.บ.528/1ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 102 หน้า ; 4 x 51 ซ.ม. : ล่องชาด ; ไม้ประกับธรรมดาชื่อชุด : มัดที่ 177  (280) ผูก 1 (2566)หัวเรื่อง : มหาชย--เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


Messenger