ค้นหา

รายการที่พบทั้งหมด 41,347 รายการ

ชื่อเรื่อง                    การอนุรักษ์และพัฒนาโบราณสถานวัดเจตวงศ์ (ร้าง) ตำบลบางขะแยง อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานีผู้แต่ง                      อรุณศักดิ์ กิ่งมณีประเภทวัสดุ/มีเดีย      หนังสือท้องถิ่นISBN/ISSN                978-974-417-946-3หมวดหมู่                  ศาสนาเลขหมู่                     294.3135 อ417กสถานที่พิมพ์              นนทบุรีสำนักพิมพ์                ไซเบอร์ ร็อก เอเยนซี่ปีที่พิมพ์                   2551ลักษณะวัสดุ              74 หน้า : ภาพประกอบ ; 29 ซม.หัวเรื่อง                    วัดเจตวงศ์ (ร้าง)                             ไทย -- โบราณสถาน – การบำรุงรักษาและการซ่อมแซมภาษา                      ไทยบทคัดย่อ/บันทึก         ประมวลองค์ความรู้เกี่ยวกับโบราณสถานวัดเจตวงศ์ ตลอดจนวิธีการดำเนินการอนุรักษ์และพัฒนาโบราณสถานวัด เจตวงศ์ ในด้านการขุดแต่งทางโบราณคดี การอนุรักษ์โบราณสถาน อุโบสถ ฐานเสมา เจดีย์ และการอนุรักษ์จิตรกรรมฝาผนัง นอกจากนี้ยังกล่าวถึงประวัติความเป็นมา สถานที่ตั้ง สิ่งสำคัญภายในวัด จิตรกรรมฝาผนังอุโบสถ


องค์ความรู้จากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นครศรีธรรมราช ชุดความรู้ทางวิชาการ :หลักฐานศาสนาพราหมณ์-ฮินดูในภาคใต้ของประเทศไทย ตอนที่ ๑๘ พระศิวะ อิทธิพลศิลปะชวาที่พบในภาคใต้ (พระอคัสตยะและพระศิวะมหาเทพ) ค้นคว้าและเรียบเรียงโดย น.ส.สุขกมล วงศ์สวรรค์ ภัณฑารักษ์ชำนาญการพิเศษ


ชื่อเรื่อง                                ศัพท์ชัย (หนังสือสับไชย)  สพ.บ.                                  364/1ประเภทวัสดุมีเดีย                    คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่                               พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ                           24 หน้า กว้าง 5.5 ซม. ยาว 58 ซม.หัวเรื่อง                                 พุทธศาสนา                                           เทศน์มหาชาติ                                           คาถาพัน                                           ชาดก บทคัดย่อ/บันทึก          เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรธรรมอีสาน ภาษาบาลี-ไทยอีสาน เส้นจาร ฉบับลานดิบ  ได้รับบริจาคมาจากวัดลานคา ต.โคกคราม อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี 


          เนื่องในโอกาสขึ้นปีใหม่ ๒๕๖๕ กระทรวงวัฒนธรรม ได้จัดโครงการ “ส่งสุขวิถีใหม่ สืบสานวิถีไทย ปลอดภัยสร้างสรรค์” เพื่อเป็นของขวัญปีใหม่ให้กับประชาชน โดยกรมศิลปากร ร่วมจัดกิจกรรมเยี่ยมชมแหล่งเรียนรู้ เชิงสร้างสรรค์ทางศิลปวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ “ของขวัญปีใหม่ จากใจกระทรวงวัฒนธรรม” ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ดังนี้          ๑. กิจกรรมสักการะพระพุทธรูปวังหน้า พระปฏิมาแห่งแผ่นดิน : นบพระนำพร บวรสถาน พุทธปฏิมามงคล ๒๕๖๕ ณ พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ระหว่างวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๔ ถึงวันที่ ๙ มกราคม ๒๕๖๕ เวลา ๐๙.๐๐ น. – ๑๖.๐๐ น. โดยมีพระพุทธสิหิงค์ พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ประจำพระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า) เป็นประธาน และอัญเชิญพระพุทธรูปมงคลโบราณอีก ๙ องค์ ซึ่งมีตำนาน การสร้างและนามอันเป็นสิริมงคล มาประดิษฐานให้พุทธศาสนิกชนได้สักการบูชา ได้แก่ พระพุทธรูปปางประทานพร พระไภษัชยคุรุ พระอมิตายุส พระพุทธรูปปางฉันสมอ พระหายโศก พระพุทธรูปปางห้ามญาติ (ปางประทานอภัย) พระพุทธรูปปางห้ามสมุทร พระชัยเมืองนครราชสีมา และพระชัย เพื่อประทานพรให้เกิดสวัสดิมงคลในการเริ่มต้นศักราชใหม่           ๒. การแสดงดนตรีสำหรับประชาชน “เหมันต์บันเทิง รื่นเริงสังคีต” ณ สังคีตศาลา เวทีกลางแจ้ง บริเวณพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ระหว่างวันที่ ๒๕ - ๒๖ ธันวาคม ๒๕๖๔ ตั้งแต่เวลา ๑๗.๓๐ - ๑๙.๓๐ น. โดยการแสดงในวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๔ ประกอบด้วย การรำอวยพร เปิดสังคีตศาลา ปีที่ ๖๕ การแสดงชุด สรรพศิลป์ถิ่นสยาม และการแสดงเบิกโรง ชุดปัญจเทพารักษ์หลักเมือง วันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๖๔ การแสดงโขน ชุดพระรามเดินป่าฆ่าตรีปักกัน           ๓. ชมพิพิธภัณฑ์ยามค่ำ (Night at the Museum) เปิดให้เข้าชมความงดงามของอาคารโบราณสถาน พระราชวังบวรสถานมงคล หรือวังหน้า เพื่อให้ประชาชนได้สัมผัสมนต์เสน่ห์สถาปัตยกรรมวังหน้า และความเป็นมาแห่งอารยธรรมไทยในช่วงเวลาค่ำ โดยมีวิทยากรนำชมการจัดแสดงนิทรรศการในพระที่นั่งต่างๆ ระหว่างวันที่ ๒๕ - ๒๖ ธันวาคม ๒๕๖๔ ตั้งแต่เวลา ๑๖.๐๐ – ๒๐.๐๐ น.           ทั้งนี้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมจะเป็นประธานเปิดกิจกรรมในวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๔ เวลา ๑๗.๐๐ น. ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ผู้สนใจสามารถเข้าร่วมกิจกรรมโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย           นอกจากนี้ กรมศิลปากรยังเปิดให้ประชาชนเข้าชมพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติและอุทยานประวัติศาสตร์ ทั่วประเทศ ซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมที่สำคัญของชาติ โดยไม่เก็บค่าธรรมเนียมเข้าชม ระหว่างวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๔ ถึงวันที่ ๓ มกราคม ๒๕๖๕          กรมศิลปากร ได้มีมาตรการเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) พร้อมทั้งขอความร่วมมือผู้เข้าร่วมกิจกรรมปฏิบัติตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่อย่างเคร่งครัด



โพธิปกฺขิยธมฺม (โพธิปกฺขิยธมฺม)  ชบ.บ.49/1-8  เอกสารโบราณ (คัมภีร์ใบลาน)


เลขทะเบียน : นพ.บ.184/9ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ :  56 หน้า ; 5.5 x 54 ซ.ม. : ทองทึบ-ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดาชื่อชุด : มัดที่ 106 (117-122) ผูก 9 (2565)หัวเรื่อง : ปาจิตฺติยปาลิ มหาริภงฺคปาลิ(พระปาจิตตีย์)--เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


เลขทะเบียน : นพ.บ.254/1กห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 32 หน้า ; 4.5 x 55 ซ.ม. : ทองทึบ-ลานดิบ ; ไม่มีไม้ประกับชื่อชุด : มัดที่ 116 (217-225) ผูก 1ก (2565)หัวเรื่อง : ขีรธารกถา(แทนน้ำนมแม่)--เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


. สวัสดีค่ะ กลับมาพบกับสาระความรู้ดีดีจากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่กันอีกแล้วนะคะ ในวันนี้ทางเราขอเสนอ องค์ความรู้ เรื่อง โบราณวัตถุชิ้นเด่นในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ ตอน “สัปคับ” . สัปคับ คือ ที่นั่งบนหลังช้าง มีลักษณะคล้ายตั่งผูกติดบนหลังช้าง ใช้สำหรับนั่ง บรรทุกสัมภาระ เพื่อการเดินทางในภูมิประเทศที่มีลักษณะเป็นพื้นที่ราบและป่าเขา อาจเรียกว่าแหย่งช้างก็ได้ค่ะ หากใช้สำหรับพระมหากษัตริย์เรียกว่า “พระที่นั่ง” ( สัปคับพระที่นั่ง อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : https://www.facebook.com/chiangmainationalmuseum/posts/2621120284788708 ). ส่วนสัปคับองค์นี้ เดิมเป็นสัปคับช้างทรงของ เจ้านครเชียงใหม่ สร้างด้วยไม้สลักเป็นลวดลาย แบบจีน ตกแต่งด้วยการลงรักปิดทอง . ในปี พ.ศ. ๒๔๖๙ ได้ใช้เป็นสัปคับช้างทรงของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรง ราชานุภาพ ในริ้วกระบวนช้างพระนั่งเสด็จ เข้านครเชียงใหม่ . ต่อมาเมื่อสิ้นสุดยุคเจ้าผู้ครองนคร ทายาทจึงได้ เชิญมาถวายไว้ที่ วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร ต่อมาพระธรรมราชานุวัตร ได้มอบให้กับ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ จัดแสดง มาจนถึงปัจจุบันค่ะ. ลวดลายที่ปรากฏบนสัปคับองค์นี้ ล้วนเป็นสัญลักษณ์มงคล ตามคติความเชื่อแบบจีน สะท้อนให้เห็นถึงอิทธิพลศิลปะจีนที่ เข้ามามีบทบาทในงานศิลปกรรมล้านนาในช่วงเวลานั้นได้เป็นอย่างดี . ลวดลายสัญลักษณ์ที่นำมาใช้ มักมีความหมายในทางมงคล คือ ให้มีความสุข อายุยืนยาว มีโชคลาภ สมปรารถนา ปัดเป่าสิ่งไม่ดี มีลูกหลานสืบสกุล มีตำแหน่งและก้าวหน้าในหน้าที่การงาน ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความเป็นสิริมงคลและเป็นการอวยพร ให้เกิดความสงบสุขแก่ผู้ใช้นั้นเองค่ะ"""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""หากท่านใดสนใจอยากรับชมสัปคับทั้ง ๒ องค์ สามารถแวะมาชมกันได้ที่ พิพิธภัณฑ์ของเรานะคะ ไว้พบกันใหม่ในองค์ความรู้รอบหน้าค่ะ"""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่เปิดให้บริการทุกวันพุธ – วันอาทิตย์ ตั้งแต่เวลา 09.00 - 16.00 น. (หยุดทุกวันจันทร์ อังคาร และวันหยุดนักขัตฤกษ์) e-mail : cm_museum@hotmail.comสอบถามเพิ่มเติมกรุณาติดต่อผ่านกล่องข้อความ หรือ โทรศัพท์ : 053-221308For more information, please leave your message via inbox or call : +66 5322 1308+




ชื่อผู้แต่ง        - ชื่อเรื่อง         พระอภิธรรม - พระมาติกา ครั้งที่พิมพ์      - สถานที่พิมพ์    - สำนักพิมพ์      - ปีที่พิมพ์         - จำนวนหน้า    ๑๕๘ หน้า หมายเหตุ.     - (เนื้อหา)            พระอภิธรรม ๗ คัมถีร์ มีพระสังคณี พระวิภังค์ พระธาตุกถา พระปุคคลบัญญัติ พระกถาวัตถุ พระยกมและพระมหาปัฏฐาน พร้อมด้วยบทมาติกาซึ่งสรุปเนื้อหาสาระของพระอภิธรรมอย่างย่อๆ


 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้ง “กรมศิลปากร” เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2454 จึงนับเป็นวันแรกแห่งการสถาปนากรมศิลปากร ตลอดระยะเวลา 110 ปี กรมศิลปากรได้ทำหน้าที่คุ้มครอง ป้องกัน อนุรักษ์ บำรุงรักษา ฟื้นฟู ส่งเสริม สร้างสรรค์ เผยแพร่ วิจัย พัฒนา สืบทอดศิลปะและทรัพย์สินมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ เพื่อธำรงคุณค่าและเอกลักษณ์ของความเป็นชาติให้คงอยู่สืบไป             ปัจจุบันกรมศิลปากร เป็นหน่วยงานภาครัฐ สังกัดกระทรวงวัฒนธรรม แบ่งส่วนราชการ เป็น 26 หน่วยงาน แบ่งภารกิจหลักออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่ ด้านดุริยางคศิลป์ ด้านโบราณคดีและพิพิธภัณฑ์ ด้านภาษา เอกสารและหนังสือ และด้านสถาปัตยกรรมและศิลปกรรม




ชื่อเรื่อง : ประชุมพงศาวดาร เล่ม 34 (ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 61 (ต่อ) - 62) พงศาวดารเมืองเงินยาง (ต่อ) เชียงแสน ว่าด้วยเรื่องทูตฝรั่งสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ชื่อผู้แต่ง : - ปีที่พิมพ์ : 2512 สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์ : องค์การค้าของคุรุสภา จำนวนหน้า : 332 หน้า สาระสังเขป : ประชุมพงศาวดาร เล่ม 34 ภาคที่ 61 กล่าวถึงพงศาวดารเมืองเงินยางเชียงแสน (ต่อ) โดยอธิบายถึงเขตแดนเมืองเชียงแสน การรบกันในแถบนั้น และการครองเมือง เป็นต้น และประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 62 กล่าวถึงเรื่องทูตฝรั่ง สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นการเจริญไมตรีกับฝรั่งในสมัยรัชกาลที่ 1 ถึง รัชกาลที่ 3


          กรมศิลปากร ขอเชิญชวนประชาชนเข้าร่วมงานสัปดาห์อนุรักษ์มรดกไทย พุทธศักราช ๒๕๖๕ ระหว่างวันที่ ๒ – ๘ เมษายน ๒๕๖๕ เวลา ๑๖.๐๐ - ๒๐.๐๐ น. ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ยลพิพิธภัณฑ์ยามค่ำ (Night at the Museum) สักการะพระพุทธสิหิงค์และชมความงามของภาพจิตรกรรมฝาผนัง สมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ณ พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ สัมผัสวิถีชีวิตชาวไทยในอดีต ผ่านการจัดแสดง ณ พระตำหนักแดง และชมราชรถ ราชยาน ณ โรงราชรถ


Messenger