ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 41,347 รายการ
เลขทะเบียน : นพ.บ.53/4ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 52 หน้า ; 4.5 x 51.3 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 34 (344-352) ผูก 4หัวเรื่อง : จตุกฺกนิบาต --เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
องค์ความรู้ เรื่อง ภาชนะดินเผาจากแหล่งเตาลุ่มแม่น้ำสงคราม
เรียบเรียง/ภาพ นางสาวพรพิณ โพธิวัฒน์
ภัณฑารักษ์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น
สำนักศิลปากรที่ ๘ ขอนแก่น
ชื่อเรื่อง : รามเกียรติ์ เล่ม 5
ชื่อผู้แต่ง : พุทธยอดฟ้าจุฬาโลก, พระบาทสมเด็จพระ
ปีที่พิมพ์ : 2507
สถานที่พิมพ์ : พระนคร
สำนักพิมพ์ : องค์การค้าของคุรุสภา
จำนวนหน้า : 394 หน้า
สาระสังเขป : พระราชนิพนธ์บทละครเรื่องรามเกียรติ์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงพระราชนิพนธ์เป็นกลอนบทละคร ดำเนินเรื่องโดยการเล่าเรื่องติดต่อกันตั้งแต่ต้นจนจบ พระราชนิพนธ์บทละครรามเกียรติ์ เล่ม 5 เริ่มจากตอน ไมยราพทดลองสรรพคุณยา(ต่อ) หนุมานรบกับมัจฉานุ พระลักษณ์ยกทัพออกรบกุมภกรรณ พระรามแผลงศรพาลจันทร์ หนุมานหักคอ เอราวัณ จนถึงตอนบุษบกแก้วลอยบนอากาศ
1. ตำราประเคราะห์เคราะปี่ 2. ตำราเสี่ยงทาย 3. เวทย์มนต์คาถา อักษรขอม ภาษาบาลี เช่น คาถาคงกระพันต่างๆ, คาถาแก้คุณผี, ปัดพิษสัตว์ทั้งปวง, เสกน้ำรดคนเจ็บ, คาถาพระโมกคลาประสานกระดูก ฯลฯ 4. ตำราทำขวัญข้าว 5. ตำราดูฤกษ์ยาม 6. ตำรายาเกร็ด เช่น ยาอายุวัฒนะ, ยาแก้ทุกข์โศก, ยาทาขี้กลากขี้เรื้อน, ยาแก้สันนิบาต, ยาแก้ทราง ฯลฯ
นริศรานุวัดติวงศ์, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้าฯ กรมพระยา และ ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา.
สาส์นสมเด็จลายพระหัตถ์ สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์ และสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ
ภาคที่ 30. พระนคร : กรมศิลปากร, 2499. หนังสือเรื่องสาส์นสมเด็จ ภาคที่ 30 นี้ เป็นลายพระหัตถ์สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัดติวงศ์ กับสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงมีโต้ตอบกันในบั้นปลายแห่งพระชนมชีพเมื่อทรงว่างจากภาระทางราชการการเมือง และทรงพักผ่อนอย่างเงียบ ๆ พระปรีชาสามารถของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอทั้งสองพระองค์นี้ เป็นที่รู้กันอยู่ทั่วไปในหมู่นักศึกษา โบราณคดี ศิลปและวรรณคดี และการปกครอง สาส์นสมเด็จนี้มีอยู่มากมายด้วยกัน ภาคนี้เป็นภาคที่ 30.
มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. นารายณ์สิบปาง ปางที่ 7. พระนคร : กรมศิลปากร, 2496.
พระราชนิพนธ์เรื่องนารายสิปปางนี้ มีเนื้อหาเพียงปางเดียว คือ ปางที่ 7 รามจันทราวตาร.
วัสดุ : หิน ขนาด : น้ำหนัก 60 กรัม สมัย : ก่อนประวัติศาสตร์ อายุ : พุทธศตวรรษที่ 5-10 ลักษณะวัตถุ : หินคาร์เนเลี่ยนสีส้ม รูปทรงต่างๆ ร้อยรวมเป็น 1 พวง จำนวน 64 เม็ด ลูกปัดเป็นเครื่องประดับที่อยู่คู่กับมนุษย์มาเป็นเวลานาน คนก่อนประวัติศาสตร์ใช้วัสดุที่ใกล้ตัว เช่น เปลือกหอย, กระดูกสัตว์ และหิน มาเจาะรูแล้วร้อยเป็นเส้น ใช้เป็นสร้อยคอ สร้อยข้อมือ หรือร้อยติดกับเส้นผมและเสื้อผ้า ในหลุมฝังศพสมัยก่อนประวัติศาสตร์พบว่ามีการสวมสร้อยลูกปัดให้กับคนตาย ลูกปัดจึงเป็นเครื่องประดับที่มีค่าของคนในอดีต ได้ค้นพบแหล่งผลิตลูกปัดโบราณในภาคใต้ เช่น แหล่งโบราณคดีควนลูกปัดหรือคลองท่อม จังหวัดกระบี่, แหล่งโบราณคดีแหลมโพธิ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี, แหล่งโบราณคดีภูเขาทอง จังหวัดระนอง และแหล่งโบราณคดีเขาสามแก้ว จังหวัดชุมพร เป็นต้น แหล่งโบราณคดีเขาสามแก้ว เป็นเมืองท่าโบราณรุ่นแรกในภาคใต้ กำหนดอายุอยู่ในพุทธศตวรรษที่ 5-10 พบว่ามีการติดต่อกับต่างแดน ได้พบโบราณวัตถุที่เกี่ยวข้องกับการค้าในสมัยโบราณ เช่น กลองมโหระทึกตราประทับ และต่างหูลิง-ลิง-โอ เป็นต้น และพบว่าเขาสามแก้วเป็นแหล่งผลิตเครื่องประดับเพื่อเป็นสินค้าส่งออก เช่น กำไลและลูกปัดแบบต่างๆ ที่ทำมาจากหินและแก้ว ได้ค้นพบหินวัตถุดิบซึ่งอยู่ในขั้นตอนการผลิตที่ยังไม่เสร็จสมบูรณ์ เช่น ลูกปัดที่ยังไม่ได้เจาะรู, รูที่เจาะไม่เสร็จสมบูรณ์, การขัดฝนยังไม่เสร็จสมบูรณ์ เป็นต้น ลูกปัดที่พบเป็นจำนวนมากในแหล่งเขาสามแก้ว คือ ลูกปัดหินคาร์เนเลี่ยน มีหลายรูปแบบ เช่น วงกลม, ทรงเหลี่ยม, ทรงพระจันทร์เสี้ยว และทรงกระบอก เป็นต้น นักวิชาการผู้ทำการศึกษาแหล่งโบราณคดีเขาสามแก้วให้ข้อคิดเห็นว่า หินคาร์เนเลี่ยนที่พบในแหล่งเขาสามแก้วอาจเป็นหินที่นำมาจากอินเดียเพราะอินเดียมีแหล่งหินคาร์เนเลี่ยนที่มีคุณภาพดีมีสีสันสดใส หรืออาจจะใช้หินวัตถุดิบในท้องถิ่นซึ่งมีสีสันไม่จัดจ้านแล้วใช้วิธีการหุงแร่ซึ่งรับมาจากอินเดีย การหุงแร่จะทำให้หินคาร์เนเลี่ยนมีสีสันสดใสโดดเด่นมากยิ่งขึ้น ถือเป็นการนำเข้าเทคโนโลยีการผลิตลูกปัดจากอินเดีย จากที่กล่าวมาแสดงให้เห็นว่าเขาสามแก้วเป็นเมืองท่าและเป็นแหล่งผลิตลูกปัดที่สำคัญใน พุทธศตวรรษที่ 5-10 มีการติดต่อและรับวิธีการผลิตลูกปัดมาจากอินเดีย กลุ่มคนที่เป็นแรงงานในการผลิตนั้นน่าจะเป็นกลุ่มคนดั้งเดิมในภาคใต้ การก่อตั้งเมืองท่าเขาสามแก้วคงเป็นสื่อกลางและตัวกระตุ้นให้กลุ่มคนดั้งเดิมติดต่อกับกลุ่มคนจากต่างแดนที่มีเทคโนโลยีการผลิตสูงกว่า ทำให้วิถีชีวิตของคนดั้งเดิมในภาคใต้เปลี่ยนแปลงไปและมีพัฒนาการเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์ในที่สุด //แหล่งที่พบ : แหล่งโบราณคดีเขาสามแก้ว ตำบลนาชะอัง อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร ปัจจุบัน จัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ชุมพร //เอกสารอ้างอิง : ธราพงศ์ ศรีสุชาติ. “เขาสามแก้ว : ชุมชนโบราณ,” สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ พ.ศ.2529 เล่ม1. กรุงเทพ: สถาบันทักษิณคดีศึกษา, 2529. ธราพงศ์ ศรีสุชาติ. “ลูกปัดต่างชาติในแหล่งโบราณคดีประเทศไทย,” ศิลปากร, ปีที่ 33, ฉบับที่ 1 (มีนาคม-เมษายน 2533) 5-19.
พชร สุวรรณภาชน์. โลกทัศน์ของกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย เพลงโคราช : นครปฐม, สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล ณ ศาลายา, 2544.ความรู้เกี่ยวกับโลกทัศน์ของชาวโคราช ที่สะท้อนออกมาจากเพลงโคราช ซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมดนตรี ของคนโคราช
ผู้แต่ง : -
ฉบับพิมพ์ : พิมพ์ครั้งที่ 1
สถานที่พิมพ์ : พระนคร
สำนักพิมพ์ : กรมศิลปากร
ปีที่พิมพ์ : 2501
หมายเหตุ : พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงพระศพ หม่อมเจ้าเสรฐศิริ กฤดากร
เป็นพระราชสาส์น ใน พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ทรงติดต่อกับพระเจ้าแผ่นดินประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรปหลายประเทศ เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส ปรุสเซีย ออสเตรีย เดนมาร์ค ฮันลันดา เป็นต้น