ค้นหา

รายการที่พบทั้งหมด 41,347 รายการ

แหล่งตัดหินโบราณบ้านส้มกบงาม ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ หมู่ที่ 9 บ้านส้มกบงาม ตำบลเสมา อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา (ตั้งอยู่ทางด้านทิศเหนือของเมืองโบราณเสมา ระยะทางประมาณ 9 กิโลเมตร) โดยมีลักษณะภูมิประเทศเป็นลานหินธรรมชาติ กระจายตัวอยู่ในเขตพื้นที่ป่าชุมชน ปัจจุบันพบร่องรอยการตัดหินทรายสีแดง รวมทั้งสิ้น 4 จุด พิกัดทางภูมิศาสตร์ UTM โซน 47P 1661400.08 ม. เหนือ 801588.99 ม. ตะวันออก . โดยแหล่งตัดหินโบราณบ้านส้มกบงามนี้ ยังเป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่ อุทยานธรณีโคราช หรือ #โคราชจีโอพาร์ค เพราะปรากฏร่องรอยกิจกรรมเเละภูมิปัญญาของมนุษย์ที่ใช้ทรัพยากรทางธรรมชาติ อย่างหินทรายไปรังสรรค์ให้ก่อเกิดสิ่งก่อสร้างที่โดดเด่นทางวัฒนธรรม . ลักษณะร่องรอยการตัดหินที่พบนั้น พบร่องรอยการตัดหินที่มีการเคลื่อนย้ายหินออกไปแล้ว โดยอาจใช้เทคนิควิธีเดียวกันกับแหล่งตัดหินอื่นๆ ที่พบในเขตพื้นที่ จังหวัดบุรีรัมย์เเละนครราชสีมา คือ ใช้เครื่องมือเหล็ก ประเภทสิ่ง เซาะหินทรายเป็นแถวยาว แล้วตัดแบ่งออกเป็นก้อนสี่เหลี่ยม เมื่อได้ขนาดที่ต้องการเเล้ว จึงสกัดด้านล่างออกเป็นแท่งสี่เหลี่ยม แล้วจึงเคลื่อนย้ายออกไปใช้ประโยชน์ โดยหินทรายเหล่านี้ เป็นวัสดุหลักที่สำคัญในการใช้ก่อสร้างปราสาทในวัฒนธรรมเขมร ที่พบในหลายแห่งของจังหวัดนครราชสีมาของเราครับ . นอกเหนือจากแหล่งตัดหินบ้านส้มกบงาม อำเภอสูงเนิน เเล้ว ในเขต #จังหวัดนครราชสีมา ยังพบแหล่งตัดหินโบราณอีกหลายแห่ง ได้แก่ #อำเภอสีคิ้ว พบแหล่งตัดอีก 3 แห่ง ประกอบด้วย 1 แหล่งตัดหินมอจะบก (ติดถนนมิตรภาพ) 2 แหล่งตัดหินด้านหน้าเเละด้านในวัดป่าเขาหินตัด 3 แหล่งตัดหินวัดโบสถ์ริมบึง และ #อำเภอปักธงชัย ประกอบด้วย 1 แหล่งตัดหินใกล้โบราณสถานกู่เกษม ซึ่งทั้งหมดมีลักษณะ คล้ายคลึงกันคือปรากฏร่องรอยการสกัดเเละตัดหินทรายเป็นแท่งรูปสี่เหลี่ยมผืนผัา . จากแผนที่ภาพถ่ายดาวเทียม Google Earth ที่พี่นักโบ เลือกมานำเสนอ จะเห็นว่า บริเวณพื้นที่ใกล้เคียงของแหล่งตัดหินโบราณ ปรากฏ ปราสาทในวัฒนธรรมเขมร หลายแห่ง ปราสาทเมืองแขก ปราสาทโนนกู่ ปราสาทเมืองเก่า ปราสาทบ้านบุใหญ่ เเละปราสาทบ้านหัวสระ รวมไปถึงโบราณสถานหมายเลข 1 กลางเมืองเสมา ซึ่งถูกสร้างขึ้นในช่วงระหว่าง พุทธศตวรรษที่ 16-18 ด้วยเพราะใกล้วัสดุสำคัญอย่างหินทราย จึงอาจเป็นเหตุผลหนึ่งที่พื้นที่บริเวณนี้พบการสร้างปราสาทหลายหลัง นั่นเองครับ เรียบเรียงนำเสนอโดย นายวรรณพงษ์ ปาละกะวงษ์ ณ อยุธยา นักโบราณคดีปฏิบัติการ


ชื่อผู้แต่ง          วิลเลียม คลิพตันดอดดฺ ชื่อเรื่อง            ไทย ครั้งที่พิมพ์       - สถานที่พิมพ์   พระนคร สำนักพิมพ์      โรงพิมพ์เลี่ยงเซียงจงเจริญ ปีที่พิมพ์          2510 จำนวนหน้า     214 หน้า รายละเอียด                      หนังสืออนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพคุณแม่เมี้ยน ศุภมหิธร เนื้อหาเป็นเรื่องประวัติของคนไทยที่กระจัดกระจายพลัดพรากอยู่ในที่ต่างๆซึ่งเนียนโดยมิชันนรีอเมริกันโดยชื่อหนังสือ The Thai Race – The Elder Brother of the chinese


ชื่อเรื่อง                     สพ.ส.7 ตำรายาแผนโบราณประเภทวัสดุ/มีเดีย       สมุดไทยดำISBN/ISSN                 -หมวดหมู่                  เวชศาสตร์ลักษณะวัสดุ              27; หน้า : ไม่มีภาพประกอบหัวเรื่อง                    เวชศาสตร์                        ภาษา                       ไทยบทคัดย่อ/บันทึก                   ประวัติวัดลาวทอง ต.สนามชัย  อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี มอบให้หอสมุดฯ วันที่ 15 ส.ค.2538 


ชื่อเรื่อง                                มหานิปาต (เวสฺสนฺตรชาตก) ชาตกปาลิ ขุทฺทกนิกาย (คาถาพัน) สพ.บ.                                  419/1ก ประเภทวัสดุมีเดีย                 คัมภีร์ใบลาน หมวดหมู่                             พุทธศาสนา ลักษณะวัสดุ                         74 หน้า กว้าง 4.7 ซม. ยาว 58.7 ซม. หัวเรื่อง                                พุทธศาสนา                                            เทศน์มหาชาติ                                            ชาดก บทคัดย่อ/บันทึก           เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอมธรรมอีสาน ภาษาบาลี-ไทยอีสาน เส้นจาร ฉบับทองทึบ ได้รับบริจาคมาจากวัดลานคา ต.โคกคราม อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี




ชื่อผู้แต่ง           คณะบริหารเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตบริหารศาสตร์ ชื่อเรื่อง           เศรษฐกิจปริทรรศ (เมษายน ๒๕๑๑ ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑ ) ครั้งที่พิมพ์        - สถานที่พิมพ์      พระนคร สำนักพิมพ์        สำนักทำเนียบนายกรัฐมนตรี ปีที่พิมพ์          ๒๕๑๑ จำนวนหน้า      ๓๗ หน้า รายละเอียด      เศรษฐกิจปริทรรศในฉบับนี้ มีเนื้อหาเกี่ยวกับ เรื่องการจัดเก็บภาษี ข้อสังเกตจากการประชุมนักวางแผนเศรษฐกิจครั้งที่ 3 ข้อเสนอแนะทางเศรษฐกิจและการเงิน งบประมาณแผ่นดิน           และสุดท้าย การสำรองเงินทุนต่างประเทศ


สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม (สงฺคิณี-มหาปฎฺฐาน) ชบ.บ 144/7 เอกสารโบราณ (คัมภีร์ใบลาน)


สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม (สงฺคิณี-มหาปฎฺฐาน) ชบ.บ 177/3คเอกสารโบราณ (คัมภีร์ใบลาน)


ชื่อเรื่อง           เปิดบ้านศิลปิน  นครินทร์ ชาทอง“ท้องแท้ของแผ่นดิน”ศิลปินแห่งชาติ พุทธศักราช 2550 ชื่อผู้แต่ง         ถวัลย์  มาศจรัส พิมพ์ครั้งที่       - สถานที่พิมพ์     กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์       โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย ปีที่พิมพ์          2556 จำนวนหน้า      104 หน้า รายละเอียด                    กรมส่งเสริมวัฒนธรรมได้กหนดเปิดบ้าน  นายนครินทร์  ชาทอง  ศิลปินแห่งชาติ  สาขาศิลปะการแสดง (การแสดงพื้นบ้าน - หนังตะลุง)  นับเป็นหลังที่  15  ในโครงการเปิดบ้านศิลปินแห่งชาติแห่งนี้  ได้ใช้เป็นสถานที่อนุรักษ์และถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับหนังตะลุงอันเป็นมรดกทางวัฒนธรรมท้องถิ่นภาคใต้ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการศึกษาศิลปะและวัฒนธรรมของศิลปินพื้นบ้าน  ครู  นักเรียน  นักศึกษา  ซึ่งที่แห่งนี้จะเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันน่าภาคภูมิใจของชาวจังหวัดสงขลาต่อไป


เลขทะเบียน : นพ.บ.382/1ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 44 หน้า ; 5 x 59 ซ.ม. : ชาดทึบ-ล่องรัก-ลานดิบ ; ไม่มีไม้ประกับชื่อชุด : มัดที่ 143  (26-39) ผูก 1 (2566)หัวเรื่อง : มาลัยถาม--เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


เลขทะเบียน : นพ.บ.523/1ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 30 หน้า ; 5 x 52 ซ.ม. : ล่องชาด-ลานดิบ-ชาดทึบ-รักทึบ ; ไม้ประกับธรรมดาชื่อชุด : มัดที่ 175  (260-266)) ผูก 1 (2566)หัวเรื่อง : กจฺจายนมูล--เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม




ชื่อเรื่อง                         ธมฺมปทวณฺณนา ธมฺมปทฏฺธกถา ขุทฺทกนิกายฏฺธกกา (ธมฺมฺปทขั้นปลาย)อย.บ.                            241/13หมวดหมู่                       พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ                  58 หน้า กว้าง 5 ซม. ยาว 58.5 ซม.หัวเรื่อง                         พระธรรมเทศนา                                                                       บทคัดย่อ/บันทึก          เป็นคัมภีร์ใบลาน ฉบับทองทึบ ไม้ประกับธรรมดา


          กรมศิลปากร โดยกองโบราณคดี จัดการบรรยายทางวิชาการ เรื่อง “โบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในภูมิภาคลพบุรี” วิทยากรโดย Dr Fiorella Rispoli และ Dr Roberto Ciarla นักโบราณคดีผู้ดำเนินโครงการ Lop Buri Regional Archaeological Porject จากสถาบัน ISMEO – International Association of Mediterranean and Oriental Studies ประเทศอิตาลี ให้แก่นักโบราณคดีสังกัดกรมศิลปากรและผู้สนใจ           การบรรยายประกอบด้วย ๒ หัวข้อ ได้แก่ การบรรยาย หัวข้อ “The Site that Vanished: Stratigraphy, Artefacts and AMS Dating from Tha Kae” โดย Dr Fiorella Rispoli และการบรรยาย หัวข้อ “Perforated Cylinders/Furnace Chimneys/Furnace Collars: Controversial Earthenware Artefacts from Copper Smelting and Mortuary Contexts at Khok Din and Noen Din Prehistoric Sites in the Lopburi Province. Another Case of Technological Similarity in Prehistoric Metallurgy Between Southeast Asia and China?” โดย Dr Roberto Ciarla            ขอเชิญชวนผู้สนใจร่วมฟังการบรรยายทางวิชาการ เรื่อง “โบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในภูมิภาคลพบุรี” ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์โปรแกรมซูม (Meeting ID: 9734913996 Passcode: 987654) ในวันพฤหัสบดีที่ 18 พฤษภาคม 2566 เวลา 15.00 – 17.00 น. สอบถามเพิ่มเติมได้ที่กลุ่มวิจัยและพัฒนางานโบราณคดี กองโบราณคดี โทร. 0 2164 2523   --------------------------------------------- +หัวข้อการบรรยายและบทคัดย่อ+ Title: The Site that Vanished: Stratigraphy, Artefacts and AMS Dating from Tha Kae.Author: Dr Fiorella Rispoli Abstract: Tha Kae doesn't need a long introduction: it was among the largest, pre- and proto-historic moated-sites in central Thailand. In early aerial photos of the 40s and 50s it is possible to appreciate its original shape and size before the construction of the Chainat-Pasak irrigation canal that irreversibly damaged the western side of the site. Its “hidden wealth”, the caliche terrace on which the site developed over ca. three millennia, was also its downfall: its original structure was tragically destroyed by intensive quarrying for the extraction of carbonate soil for local construction, beginning in the 50s. At Tha Kae the bulldozers cut through the deposit creating long “sections” where Neolithic and Iron Age grave-cuts stood out. In following years, the site was also the subject of intensive looting. When we arrived 1987, not much remained of the site, but some intact "islands" could still yield archaeological data for the reconstruction of this large site's chronological/cultural sequence. It was not an easy task, but we accepted the challenge. In 2020-2021, due to travel restrictions, we were permitted to use part of our field funds granted to our project for AMS dating. Part of the samples (mainly charcoal), from reliable contexts, provided AMS dates that can only be considered as termini post quem due to their built-in age. However, even so these dates support what is proposed herein in this critical review of Tha Kae's stratigraphy and cultural sequence. Other dates, in particular those from bivalve shells and shell beads from graves, returned the most reliable dates, in agreement with the 14C of many other sites in Thailand. The results of this latest (as far as we are concerned, definitive) analysis of the chronological-cultural sequence of Tha Kae is presented, including previous and new radiometric dating results.     Title: Perforated Cylinders/Furnace Chimneys/Furnace Collars: Controversial Earthenware Artefacts from Copper Smelting and Mortuary Contexts at Khok Din and Noen Din Prehistoric Sites in the Lopburi Province. Another Case of Technological Similarity in Prehistoric Metallurgy Between Southeast Asia and China? Author: Dr Roberto Ciarla Abstract: The Thai-Italian “Lopburi Regional Archaeological Project” excavated different types of technical ceramics at the prehistoric sites of Khok Din (KD) and Noen Din (ND) (late 1st millennium BCE-early 1st millennium CE) near the copper bearing Khao Sai On (KSO) inselberg (Ban Nikhom 3 sub-district, Changwat Lopburi). A particular type of technical ceramic -called in different times and publications ‘perforated cylinder’, ‘furnace chimney’, ‘furnace collar’- is examined describing its contexts of discovery and peculiar techno-typological characteristics. At KD and ND we assume these artefacts were introduced in the metallurgical tool-kit between 200 BCE-200 CE. At both sites, the fragments of FC are associated with crucible fragments, gangue, bits of copper ores and slag. The uncontaminated stratigraphic evidence provides an additional piece of information to the hypothesis that crucibles and ‘FCs’ can be directly associated with the reduction of copper ores. Typological and functional comparisons are examined at the regional level with homologous materials the Thai-American Thailand Archaeometallurgy Project (TAP) excavated at mortuary and copper smelting sites (mid-to-late 1st millennium BCE-early 1st millennium CE) in the Khao Wong Prachan Valley (KWPV) (central Thailand), and, at the inter-regional level, with similar artefacts found at copper smelting sites (13th-11th centuries BCE) nearby Niuheliang in Liaoning Province (Northeast China). Should we look North again for a technological innovation (in Thailand so far only documented in the KSO and KWPV sites) introduced in central Thailand by local metallurgists a millennium later than the Liaoning evidence? Whether or not is a matter of future research, wishing for new discoveries in Thailand from some of our younger Thai colleagues. 


Messenger