ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 41,418 รายการ
รัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้ตระหนักในคุณค่าความสำคัญของโบราณวัตถุและศิลปวัตถุ จึงมีคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ ๑๔๓/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๖๐ แต่งตั้งคณะกรรมการติดตามโบราณวัตถุ ของไทยในต่างประเทศกลับคืนสู่ประเทศไทย โดยได้มอบหมายให้ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม ดำเนินการติดตามโบราณวัตถุของไทยกลับคืนสู่ประเทศอย่างต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน กระทรวงวัฒนธรรม โดยกรมศิลปากร ได้ติดต่อประสานงานอย่างเป็นทางการ ผ่านกรมสารนิเทศ กระทรวงการต่างประเทศ ส่งหนังสือติดตามโบราณวัตถุถึงสำนักงานสืบสวนเพื่อความมั่นคงแห่งมาตุภูมิ (Homeland Security Investigations) สหรัฐอเมริกา และส่งข้อมูลการศึกษาทางวิชาการพร้อมหลักฐาน ที่เกี่ยวข้อง เช่น รายงานการสำรวจของกรมศิลปากร ตัวอย่างเอกสารอนุญาตในการส่งออกโบราณวัตถุ เป็นต้น เพื่อใช้ในการสืบสวนสอบสวน ยืนยันว่าโบราณวัตถุนั้นมีถิ่นกำเนิดในประเทศไทยและได้ถูกลักลอบนำออกไปโดย วิธีการที่ผิดกฎหมาย นายประทีป เพ็งตะโก อธิบดีกรมศิลปากร ได้รับแจ้งข้อมูลจากกระทรวงการต่างประเทศอย่างไม่เป็นทางการว่า สถานกงสุลใหญ่ ณ นครลอสแองเจลิส รายงานความคืบหน้าการดำเนินงานในปัจจุบันซึ่งมีแนวโน้มไปในทางที่ดี โบราณวัตถุชุดแรกที่ดำเนินการติดตาม ได้แก่ ทับหลังจากปราสาทเขาโล้น จังหวัดสระแก้ว และ ทับหลังจากปราสาทหนองหงส์ จังหวัดบุรีรัมย์ ที่จัดแสดงอยู่ที่ Asian Art Museum นครซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ได้เข้าสู่กระบวนการยุติธรรมของสหรัฐอเมริกา และทางพิพิธภัณฑ์ฯ ได้ยอมรับว่าทับหลังทั้ง ๒ รายการ เป็นกรรมสิทธิ์ของฝ่ายไทย ปัจจุบันได้นำทับหลัง ๒ ชิ้นดังกล่าวออกจากห้องจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์มาจัดเก็บในห้องคลัง เพื่อรอขั้นตอนทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ในกระบวนการส่งคืนสู่ประเทศไทย ซึ่งต้องใช้เวลาอีกระยะหนึ่ง คาดการณ์ว่ากระบวนการทางกฎหมายจะแล้วเสร็จราวเดือนมีนาคม ๒๕๖๔ กรมศิลปากรจึงได้รายงานความคืบหน้านี้ถึง นายอิทธิพล คุณปลื้ม รัฐมนตรีว่าการกระทรวง วัฒนธรรม เพื่อรายงานถึง พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เพื่อทราบแล้ว ทั้งนี้ หากกรมศิลปากรได้รับหนังสือจากกระทรวงการต่างประเทศ แจ้งเรื่องการส่งคืนโบราณวัตถุอย่างเป็นทางการแล้ว จะเร่งนำเสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม เพื่อรายงานถึงนายกรัฐมนตรีอย่างเป็นทางการต่อไป ภาพถ่ายโบราณวัตถุที่ถูกอายัดไว้ในห้องคลังของพิพิธภัณฑ์เอเชี่ยน อาร์ต มิวเซียม ซานฟรานซิสโก สหรัฐอเมริกา ทับหลังจากปราสาทเขาโล้น จังหวัดสระแก้ว ทับหลังจากปราสาทหนองหงส์ จังหวัดบุรีรัมย์------------------------------------------------
ผู้แต่ง : พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ฉบับพิมพ์ : พิมพ์ครั้งที่ 3
สถานที่พิมพ์ : พระนคร
สำนักพิมพ์ : กรมศิลปากร
ปีที่พิมพ์ : 2508
หมายเหตุ : พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพ นายยืนยง วรโพธิ์ และเด็กหญิงสุภาวดี วรโพธิ์ วันที่ 17 มิถุนายน 2508
พระราชหัตถเลขา คราวเสด็จมณฑลฝ่ายเหนือ ในรัชกาลที่ 5 นี้ เนื้อหาว่าด้วยคำอธิบายว่าด้วยการเสด็จเมืองเหนือ และพระราชหัตถเลขารวมทั้งสิ้น 26 ฉบับ กล่าวความตั้งแต่การเสด็จไปจากบางปะอินถึงเมืองอ่างทอง เมืองสิงหบุรี จังหวัดชัยนาท เมืองไชยนาท เมืองมโนรมณ์ เมืองนครสวรรค์ เมืองพิจิตร เมืองพิษณุโลก เมืองฝาง และการเสด็จกลับจากเมืองอุตรดิษฐ กระทั่งถึงพระราชวังบางปอิน
ประชุมหนังสือเก่า ภาคที่ 1. พระนคร: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, 2459.หม่อมเจ้าปิยภักดีนารถ พิมพ์อุทิศส่วนกุศลถวายสนองพระเดชพระคุณพระเจ้าบรมวงษ์เธอ กรมหมื่นวิศณุนารถนิภาธร ปีมโรง อัฐศก พ.ศ. 2459 ประชุมหนังสือเก่าเล่มนี้ มีทั้งหมด 3 เรื่อง เรื่องที่1 คำตั้งสัจจาธิษฐานต่อ พระรัตนไตรย แลรฤกถึงพระคุณพระรัตนไตรย ตลอดถึงพระอสีติมหาสาวก 80 เรื่องที่ 2 จันทสุริยคติทีปนี และเรื่องที่ 3 ว่าด้วยโคลงธรรมสุภาษิต089.95911ป248
ชื่อเรื่อง พระราชหัตถเลขาส่วนพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คราวเสด็จพระราชดำเนินประพาสยุโรป พุทธศักราช 2440 เล่ม 2ผู้แต่ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวประเภทวัสดุ/มีเดีย หนังสือหายากหมวดหมู่ ภูมิศาสตร์และการท่องเที่ยวในยุโรปเลขหมู่ 914 จ657พสถานที่พิมพ์ พระนครสำนักพิมพ์ โรงพิมพ์คุรุสภาปีที่พิมพ์ 2505ลักษณะวัสดุ 236 หน้า หัวเรื่อง ยุโรป – การท่องเที่ยว ยุโรป – ภูมิศาสตร์ พระราชหัตถเลขา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ภาษา ไทยบทคัดย่อ/บันทึก พระราชหัตถเลขาส่วนพระองค์ใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คราวเสด็จพระราชดำเนินประพาสยุโรปพุทธศักราช 2440 ซึ่งเป็นพระราชหัตถเลขาที่ได้ทรงมีพระราชทานมาเปนส่วนเฉพาะพระองค์สมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนารถ ซึ่งสำเร็จราชการแผ่นดินเวลาเสด็จพระราชดำเนินประพาศยุโรปครั้งแรก พระราชหัตถเลขาเหล่านี้เปนส่วนพิเศษต่างหากนอกจากที่ได้ทรงมีมาทางราชการและเปนกระแสพระราชดำริห์ ในการที่ได้ทรงสังเกตเห็นการในบ้านเมืองและบุคคลต่างๆ อย่างคนที่ได้ไปเที่ยวเตร่แล้ว มีหนังสือเล่าความตามที่ได้สังเกตเห็นฉนั้น
***พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้พิมพ์ขึ้นคราวแรก ในงานพระราชทานเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ พ.ศ.2463
ชื่อเรื่อง อรรถกถาอภิธรรมเจ็ด (วิภังค์-ยมก)สพ.บ. 190/5ประเภทวัสดุมีเดีย คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่ พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ 40 หน้า กว้าง 5 ซ.ม. ยาว 56.6 ซ.ม. หัวเรื่อง พุทธศาสนา บทสวดมนต์บทคัดย่อ/บันทึก
เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอม เส้นจาร ฉบับล่องชาด ได้รับบริจาคมาจากวัดพยัคฆาราม ต.ศรีประจันต์ อ.ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี
ชื่อเรื่อง ปญฺญาบารมี (ปัญญาบารมี)สพ.บ. 227/1ฆประเภทวัสดุมีเดีย คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่ พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ 18 หน้า กว้าง 6 ซ.ม. ยาว 60 ซ.ม. หัวเรื่อง พุทธศาสนา ธรรมเทศนา
บทคัดย่อ/บันทึก
เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรธรรมอีสาน เส้นจาร ฉบับลานดิบ ภาษาบาลี-ไทยอีสาน ได้รับบริจาคมาจากวัดทุ่งอุทุมพร ต.บางปลาม้า อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี
ถ่าย เมื่อปี พ.ศ.2434 ซึ่งตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5
โดยนายลูเชียง ฟูเนอโร สถาปนิกชาวฝรั่งเศส ได้เดินทางมาสำรวจและถ่ายภาพโบราณสถานต่าง ๆ ในประเทศไทย เมื่อพ.ศ. 2434 บันทึกของฟูเนอโรได้ตีพิมพ์ในหนังสือ “Le Siam Ancien” ซึ่งภาพถ่ายหลายภาพแสดงให้เห็นสภาพหลังการถูกทิ้งร้างในช่วงเวลานั้นได้เป็นอย่างดี
.
ภาพจาก : https://gallica.bnf.fr/ark:/12148/btv1b5968019w.r=sukhothai?rk=42918;4
ชื่อเรื่อง มหานิปาตวณฺณนา (เวสฺสนฺตรชาดก) ชาตกฏฐกถา ขุทฺทกนิกายฏฐกถา (ชูชก)สพ.บ. 166/5ประเภทวัสดุมีเดีย คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่ พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ 36 หน้า กว้าง 5 ซ.ม. ยาว 56 ซ.ม. หัวเรื่อง ธรรมเทศนา ชาดก นิทานคติธรรม
บทคัดย่อ/บันทึก
เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอม เส้นจาร ฉบับล่องชาด ได้รับบริจาคมาจากวัดพยัคฆาราม ต.ศรีประจันต์ อ.ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี
เลขทะเบียน : นพ.บ.125/4ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 52 หน้า ; 4.5 x 51.5 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา มีฉลากไม้ชื่อชุด : มัดที่ 72 (248-256) ผูก 4 (2564)หัวเรื่อง : เอกนิปาต (นิไสเอกนิปาต)--เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
เลขทะเบียน : นพ.บ.148/1ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 48 หน้า ; 4.5 x 55 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 91 (392-403) ผูก 1 (2564)หัวเรื่อง : เทวทูตสุตฺต (เทวทูตสูตร)--เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
"ข้าว วิถีไทย สายใยวัฒนธรรมแห่งแผ่นดิน"
: เครื่องมือ เครื่องใช้ ในการทำนาในอดีต เครื่องมือเครื่องใช้ในระยะเตรียมดิน ชิ้นที่ ๑ "ชงโลง" หรือ "โชงโลง"
ในส่วนของเครื่องมือเครื่องใช้ในการทำนาจะแบ่งออกเป็น ๔ ประเภทตามการใช้งาน ดังนี้
๑. เครื่องมือเครื่องใช้ในระยะเตรียมดิน
๒. เครื่องมือเครื่องใช้ในช่วงเก็บเกี่ยว
๓. เครื่องมือเครื่องใช้ในการขนส่งข้าว
๔. เครื่องมือเครื่องใช้ในการแปรรูปข้าว
นางสาวภัทรา เชาว์ปรัชญากุล ภัณฑารักษ์ชำนาญการ
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ชาวนาไทย เรียบเรียง/เผยแพร่
ที่มา/แหล่งข้อมูล
- วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญาจังหวัดสุพรรณบุรี
- วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญาจังหวัดร้อยเอ็ด
- วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญาจังหวัดแพร่
- วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญาจังหวัดพัทลุง
- วิบูลย์ ลี้สุวรรณ : พจนานุกรมหัตถกรรม เครื่องมือเครื่องใช้พื้นบ้าน
- รองศาสตราจารย์วัฒนะ จูฑะวิภาต : ศิลปะพื้นบ้าน
- สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เล่มที่ ๓ โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
- สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เล่มที่ ๑๓ โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
- สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เล่มที่ ๒๒ โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ตำรายาแผนโบราณ ชบ.ส. ๔๗
เจ้าอาวาสวัดบุญญฤทธยาราม ต.บ้านบึง อ.บ้านบึง จ.ชลบุรี
มอบให้หอสมุด ๒๒ ก.ค. ๒๕๓๕เอกสารโบราณ (สมุดไทย)
สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม (สังคิณี-มหาปัฎฐาน)
เลขที่ ชบ.บ.24/1-3
เอกสารโบราณ (คัมภีร์ใบลาน)