ค้นหา

รายการที่พบทั้งหมด 41,502 รายการ

อภิธัมมัตถสังคหะ ชบ.ส. ๔๐ เจ้าอาวาสวัดบุญญฤทธยาราม ต.บ้านบึง อ.บ้านบึง จ.ชลบุรี มอบให้หอสมุด ๒๒ ก.ค. ๒๕๓๕เอกสารโบราณ (สมุดไทย)


สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม (สังคิณี-มหาปัฎฐาน) เลขที่ ชบ.บ.23/1-3 เอกสารโบราณ (คัมภีร์ใบลาน)


องค์ความรู้ เรื่อง นาค ตามคติทางพุทธศาสนา จัดทำข้อมูลโดย นางสาวเด่นดาว ศิลปานนท์ ภัณฑารักษ์เชี่ยวชาญ สำนักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ


กระทรวงมหาดไทย.  ประวัติมหาดไทย (ส่วนกลาง).  พิมพ์ครั้งที่ ๒.  พระนคร : โรงพิมพ์มหาดไทย,      ๒๕๐๗. ๔๐๙ หน้า      เป็นหนังสือที่เล่าเรื่องประวัติความเป็นมาของการเมืองการปกครองของไทยมาซึ่งเริ่มต้นด้วยประวัติของกระทรวงมหาดไทย งานในหน้าที่ที่แตกต่างกับสมัยก่อน การเป็นนักปกครองที่ดีจะต้องมีความรู้ทางด้านภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ประกอบด้วย อาณาจักรไทยในยุคแรกประกอบด้วยอาณาจักลุง อาณาจักรจักรปา และอาณาจักรเงี้ยว ไทยที่ไม่ยอมขึ้นกับจีนได้อพยพเลื่อนลงมาทางใต้แยกย้ายกันอยู่อัธยาศัย   การปกครองในสมัยอาณาจักรน่านเจ้าแบ่งการปกครองออกเป็น ๔ ประเภท มีเมืองเอก เมืองโท เมืองตรีและเมืองจัตวา มีผู้ใหญ่บ้านปกครองคนราว ๑๐๐ หลังคาเรือน การปกครองมีการแต่งตั้งตำแหน่งข้าราชการตามหัวเมือง แบ่งเขตการปกครองออกเป็นมณฑล มีเครื่องแต่งกายข้าราชการตามชั้นลดลั่นกันไป ฐานะของพระมหากษัตริย์มีขุนนางปัจจุบันเทียบได้กับองคมนตรี การเก็บภาษีอากรจะจ่ายเพื่อการบำรุงทางด้านการปกครอง ด้านศาสนา ด้านศึกสงคราม โดยมีพนักงานเก็บภาษี มีการป้องกันประเทศเช่นเดียวกับสมัยนี้ ไทยอพยพบ่อยมากสุดท้ายมาตั้งมั่นในแหลมทอง 


พิธีกรรมสู่ขวัญควาย      เป็นพิธีที่ทำกันเมื่อเสร็จจากการปลูกข้าวแล้ว เป็นการเตือนใจให้ระลึกถึงบุญคุณของควายที่ได้ให้แรงงานไถนาให้คนสามารถปลูกข้าวได้ ซึ่งบางครั้งอาจมีการเฆี่ยนตี ดุด่า จึงต้องทำพิธีนี้เพื่อเป็นการขอขมาที่ได้ล่วงเกิน เป็นการสอนให้คนรู้จักความกตัญญูรู้คุณ มีเมตตากรุณา สำนึกในความผิดของตน ผู้ทำพิธีมักเป็นเจ้าของควายเอง หรือในกรณีที่ไม่สันทัดในการทำพิธีอาจให้ผู้อื่นทำแทนได้


องค์ความรู้ เรื่อง หอนาฬิกาเมืองตรัง ข้อมูลจากหอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ตรัง





เรือคลองท่อม พบในแหล่งโบราณคดีคลองท่อม หรือที่ใครหลายคนรู้จักในชื่อ “ควนลูกปัด” จ.กระบี่ แหล่งโบราณคดีแห่งนี้สันนิษฐานว่าในอดีตเคยเป็นเมืองท่าขนถ่ายสินค้า ดังนั้นการพบซากเรือจมบริเวณนี้จึงมีความสอดคล้องกับสภาพของแหล่ง ความพิเศษของเรือลำนี้คือการต่อเรือโดยไม่ใช้ตะปูสักตัวครับ แต่ใช้เทคนิคของการแกะสลักไม้กระดานเรือเป็นลักษณะสันนูนเจาะรูทะลุถึงกัน แล้วใช้เชือกและลิ่มไม้เป็นตัวยึดโครงสร้างเรือทั้งหมดเข้าด้วยกันเทคนิคแบบนี้ถูกเรียกว่า “Lashed-Lug” เป็นลักษณะของเรือที่พบได้ทั่วไปแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบมากในประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และไทย หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่กล่าวถึงเรือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปรากฏในบันทึกของชาวจีนราวพุทธศตวรรษที่ ๙-๑๒ ลักษณะเป็นเรือเดินสมุทรขนาดใหญ่ใช้ชื่อเรียกว่า “K’un-lun po” เรือลำดังกล่าวใช้เทคนิคการต่อเรือโดยไม่ใช้ตะปูโลหะ แต่ใช้เชือกที่ทำจากใยมะพร้าวและตะปูไม้ยึดแผ่นไม้กระดานเข้าหากัน สามารถบรรทุกคนได้ราว ๕๐๐-๑,๐๐๐ คน มีขนาดความยาวกว่า ๕๐ เมตร และมีระวางสินค้าตั้งแต่ ๒๕๐-๑,๐๐๐ ตัน ส่วนบันทึกของชาวยุโรปโดยหลวงพ่อ Nicolau Perreira เขียนเมื่อคริสตศักราช ๑๕๘๒ หรือพุทธศตวรรษที่ ๑๖ บรรยายลักษณะของเรือขนส่งสินค้าบริเวณหมู่เกาะชวา ในบันทึกใช้คำเรียก จังโก “Junco” กล่าวว่าเรือบางลำนั้นมีขนาดใหญ่เทียบเท่าเรือ Naus ของโปรตุเกส และไม่ใช้ตะปูเหล็กในการตอกหรือยึดไม้เข้าด้วยกัน แต่ใช้ตะปูไม้ซึ่งยึดอยู่ภายในไม้กระดานเปลือกเรือ เรือจังโกมีเสากระโดงเรือสองต้น ผ้าใบเรือใช้หวายทอเป็นผืน เรือมีหางเสือบังคับทิศทางทั้งหมด ๓ ใบ ด้านข้างสองจุด ตรงกลางหนึ่งจุด จากบันทึกดังกล่าวเห็นว่าเรือที่ถูกกล่าวถึงเป็นเรือเดินสมุทร ซึ่งมีขนาดใหญ่ ระวางบรรทุกเยอะ แตกต่างกับซากเรือจมคลองท่อม ซึ่งสันนิษฐานว่าเป็นเรือขนาดเล็ก-กลาง แต่สิ่งที่มีคล้ายคลึงกันคือเทคนิคในการต่อเรือ จึงทำให้สันนิษฐานได้ว่าในช่วงสมัยหนึ่งเรือที่ใช้เทคนิคแบบ “Lashed-Lug” อาจใช้กันอย่างแพร่หลายในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะบริเวณแถบหมู่เกาะ ซึ่งอาจมีได้ทั้งขนาดเล็ก-กลางที่ใช้สัญจรในลำน้ำ และขนาดใหญ่สำหรับเดินสมุทรคลังภาพเรือคลองท่อม


           วันศุกร์ที่ ๗ มกราคม ๒๕๖๕ นายพนมบุตร จันทรโชติ รองอธิบดีกรมศิลปากร เป็นผู้แทนกรมศิลปากร นำหนังสือที่ระลึกจากกรมศิลปากรร่วมแสดงความยินดีในโอกาสครบรอบวันคล้ายวันก่อตั้งหนังสือพิมพ์มติชน ก้าวสู่ปีที่ ๔๕ และร่วมบริจาคเงินสมทบทุนมูลนิธิ ดร.โกวิท วรพิพัฒน์ เพื่อส่งเสริมการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม สังคมและสิ่งแวดล้อม ช่วยเหลือค่าอาหารกลางวันให้กับนักเรียนที่ขาดแคลน รวมทั้งดำเนินการเพื่อสาธารณประโยชน์ โดยมีนายนฤตย์ เสกธีระ บรรณาธิการบริหารหนังสือพิมพ์มติชน ให้การต้อนรับและเป็นผู้รับมอบ ณ โถงอาคารสำนักงานบริษัท มติชน จำกัด (มหาชน)


เลขทะเบียน : นพ.บ.177/4ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ :  50 หน้า ; 4.5 x 59 ซ.ม. : ลานดิบ ; ไม้ประกับธรรมดาชื่อชุด : มัดที่ 100 (74-79) ผูก 4 (2565)หัวเรื่อง : ธมฺมจกฺกฎีกา(ฎีกาธัมมจักร)--เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม (ปุคฺคลปญฺญตฺติ-มหาปัฎฐาน)  ชบ.บ.48/1-5ค  เอกสารโบราณ (คัมภีร์ใบลาน)


ปฐมสมฺโพธิ (ปถมสมฺโพธิ)  ชบ.บ.89/1-17ข  เอกสารโบราณ (คัมภีร์ใบลาน)


เลขทะเบียน : นพ.บ.235/1ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ :  12 หน้า ; 5 x 58.5 ซ.ม. : ลานดิบ ; ไม่มีไม้ประกับชื่อชุด : มัดที่ 113 (180-193) ผูก 1 (2565)หัวเรื่อง : ฉลองหนังสือ--เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม