ค้นหา

รายการที่พบทั้งหมด 41,380 รายการ

องค์ความรู้ของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นครศรีธรรมราช ชุดความรู้ทางวิชาการ : หลักฐานศาสนาพราหมณ์-ฮินดูในภาคใต้ของประเทศไทย ตอน สวยัมภูลึงค์แห่งเขาคา : ไศวภูมิมณฑล แห่งนครศรีธรรมราช ค้นคว้า/เรียบเรียง โดยนางสาวสุขกมล วงศ์สวรรค์ ภัณฑารักษ์ชำนาญการพิเศษ


ชื่อเรื่อง                                วินยธรสิกฺขาปท...(สิกขาบท) สพ.บ.                                  300/7ประเภทวัสดุมีเดีย                    คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่                               พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ                           62 หน้า กว้าง 4.9 ซ.ม. ยาว 55 ซ.ม. หัวเรื่อง                                 พุทธศาสนา                                           พระวินัยปิฎก บทคัดย่อ/บันทึก         เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรธรรมอีสาน ภาษาบาลี-ไทยอีสาน เส้นจาร ฉบับทองทึบ ได้รับบริจาคมาจากวัดบ้านหมี่ ต.บางปลาม้า อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี      


ชื่อเรื่อง                                สิริสากุมารชาดก (สิริสากุมาร) สพ.บ.                                  351/1ประเภทวัสดุมีเดีย                    คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่                               พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ                           52 หน้า กว้าง 5 ซม. ยาว 57 ซม.หัวเรื่อง                                 พุทธศาสนา                                           ชาดก บทคัดย่อ/บันทึก          เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรธรรมอีสาน ภาษาบาลี-ไทยอีสาน เส้นจาร ฉบับทองทึบ ได้รับบริจาคมาจากวัดลานคา ต.โคกคราม อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี


เลขทะเบียน : นพ.บ.173/1ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ :  104 หน้า ; 4 x 50.5 ซ.ม. : ล่องชาด-ลานดิบ ; ไม่มีไม้ประกับ, มีฉลากไม้ไผ่ชื่อชุด : มัดที่ 98 (49-66) ผูก 1 (2565)หัวเรื่อง : วินยปิฎกสงฺเขป(วินัยกรรม,ศัพท์วินัย)--เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม (สังคิณี-มหาปัฎฐาน)  ชบ.บ.47/1-3  เอกสารโบราณ (คัมภีร์ใบลาน)


เลขทะเบียน : นพ.บ.183/15ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ :  50 หน้า ; 4.5 x 59.5 ซ.ม. : ลานดิบ ; ไม่มีไม้ประกับชื่อชุด : มัดที่ 105 (110-116) ผูก 15 (2565)หัวเรื่อง : ธมฺมจกฺกปฺปวตฺตนสุตฺตฎีกา(ฎีกาธัมมจักร) --เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


เลขทะเบียน : นพ.บ.225/1ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ :  14 หน้า ; 4.5 x 57 ซ.ม. : รักทึบ-ล่องรัก-ลานดิบ ; ไม่มีไม้ประกับชื่อชุด : มัดที่ 112 (170-179) ผูก 1 (2565)หัวเรื่อง : มหายักษ์ --เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


เลขทะเบียน : นพ.บ.359/4ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 42 หน้า ; 4 x 52 ซ.ม. : ทองทึบ-รักทึบ-ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดาชื่อชุด : มัดที่ 139  (411-419) ผูก 4 (2565)หัวเรื่อง : สังฮอมธาตุ--เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


     หม่อมเจ้าพิไลยเลขา ดิศกุล ประสูติเมื่อวันอาทิตย์ที่ 8 สิงหาคม 2440 เป็นพระธิดาองค์ที่ 2 ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ กับหม่อมเฉื่อย ดิศกุล ณ อยุธยา ท่านหญิงพิไลยเลขาเริ่มสนพระทัยในงานศิลปะตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ ทอดพระเนตรภาพวรรณคดีเรื่อง “อิเหนา” ที่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทในพระบรมมหาราชวัง จากนั้นทรงเขียนตามด้วยเห็นว่าสนุก และโปรดการเขียนภาพนับแต่นั้นเป็นต้นมา ท่านหญิงพิไลยเลขาได้รับการสนับสนุนให้เรียนศิลปะจากสมเด็จพระบิดา และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ นายช่างใหญ่แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สมเด็จอาของพระองค์ เมื่อเจริญพระชันษาทรงดัดแปลงที่ประทับชั้นล่างให้เป็นสตูดิโอสำหรับใช้ฝึกฝนการเขียนภาพ เรียกว่า “ตำหนักเลขา”       ท่านหญิงพิไลยเลขาทรงเรียนศิลปะอย่างเป็นระบบจากโรงเรียนประณีตศิลปกรรม ทรงศึกษางานจิตรกรรมแบบตะวันตกจากสถาปนิกและจิตรกรชาวอิตาเลียนที่รับราชการในราชสำนักสยามตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เช่น แอร์โกเล มันเฟรดี (Ercole Manfredi) คาร์โล ริโกรี (Carlo Rigoli) และเอมิลิโอ ฟอร์โน (Emilio Forno) เป็นต้น นอกจากนี้ ยังทรงศึกษาทฤษฎีทางด้านศิลปะกับศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี (Corrado Feroci) และทรงแลกเปลี่ยนมุมมองในการสร้างสรรค์งานศิลปะกับสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ ผ่านทางจดหมายอยู่เสมอ      ท่านหญิงพิไลยเลขาสนพระทัยงานศิลปะทั้งแบบไทยประเพณีและแบบตะวันตก งานจิตรกรรมที่ทรงสร้างสรรค์สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภทหลักๆ ได้แก่ ภาพสถาปัตยกรรมและพระพุทธรูปเพื่อการศึกษา ภาพหุ่นนิ่ง (Still life) ภาพทิวทัศน์ (Landscape) และภาพเหมือนบุคคล (Portrait) หรือสัตว์ ภาพหุ่นนิ่ง “พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร” นับเป็นผลงานชิ้นเอกของท่านหญิงพิไลยเลขา ทรงใช้เทคนิคสีน้ำมันบนแผ่นไม้ จัดวางองค์ประกอบภาพและเก็บรายละเอียดของสิ่งต่างๆ ที่นำมาใช้เป็นแบบอย่างประณีต ประยูร อุลุชาฏะ หรือ น. ณ ปากน้ำ ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) เคยกล่าวยกย่องท่านหญิงพิไลยเลขาไว้ว่า “ในบรรดาจิตรกรหญิงสมัครเล่นที่ไม่ได้ประกอบอาชีพในทางศิลปะ ท่านหญิงพิไลยเลขาเป็นผู้ที่ฝีมือเลอเลิศไม่มีใครเทียบ”       ด้วยทักษะและความสามารถในงานด้านจิตรกรรมของท่านหญิงพิไลยเลขา ตลอดจนความเข้าใจในเรื่องสุนทรียศาสตร์ ทำให้ทรงได้รับเชิญเป็นคณะกรรมการจัดการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ และคณะกรรมการตัดสินผลงานการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2492 – 2493) นอกจากนี้ ทรงส่งผลงานเข้าร่วมแสดงในการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ครั้งที่ 1 – 7 (พ.ศ. 2492 – 2499) และทรงส่งผลงานเข้าร่วมแสดงเป็นครั้งสุดท้ายในการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 9 (พ.ศ. 2501) ซึ่งเป็นปีที่ท่านหญิงทรงมีพระพลานามัยไม่แข็งแรงนัก และนับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาก็หยุดทรงงานด้วยปัญหาเรื่องพระพลานามัย หม่อมเจ้าพิไลยเลขา ดิศกุล สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2528 สิริพระชันษา 88 ปี ต่อมาหม่อมราชวงศ์ นุดีตรีทิพย์ กมลาสน์ พระนัดดาของท่านหญิงได้มอบภาพเขียนทั้งหมดให้แก่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป กรมศิลปากร เพื่อจัดเก็บและจัดแสดงตามความเหมาะสม เพื่อประโยชน์ในการศึกษาทางด้านศิลปะของไทย   ที่มา 1. หนังสือประกอบนิทรรศการ “ศรัทธา ศาสนา ความเชื่อ” โดย พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป 2 สูจิบัตรประกอบนิทรรศการ “5 ศิลปินสตรี กับบทบาทแห่งการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ของไทย” โดย พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป 3. หนังสือ “5 ทศวรรษศิลปกรรมแห่งชาติ  2492 – 2541”  โดย หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร


ชื่อผู้แต่ง         เจือ นครราชเสนี ชื่อเรื่อง           สกุลสิงหเสนี และเครือญาติ ครั้งที่พิมพ์      พิมพ์ครั้งที่ ๔ สถานที่พิมพ์   พระนคร สำนักพิมพ์      โรงพิมพ์รุ่งเรืองธรรม ปีที่พิมพ์          ๒๕๐๕ จำนวนหน้า      ๑๒๔ หน้า หมายเหตุ        พิมพ์เป็นบรรณาการในงานฌาปนกิจศพ คุณหญิงตุ่ม ประเสริฐสุนทราศรัย ณ เมรุวัดจักรวรรดิราชาวาส พระนคร ๓๐ เมษายน ๒๕๐๔                       หนังสือเล่มนี้ กล่าวถึงลำดับวงศ์สกุลสิงหเสนี และเครือญาติ รวมถึงสกุลอื่นที่มีความใกล้ชิดกับสกุลสิงหเสนี เพื่อเป็นประโยชน์แก่เครือญาติรุ่นต่อ ๆ ไป จะได้รู้จักวงศ์สกุล และลำดับญาติได้อย่างถูกต้อง



ชื่อเรื่อง : ประเพณีเกี่ยวกับชีวิตชื่อผู้แต่ง : กรมศิลปากร ปีที่พิมพ์ : 2509สถานที่พิมพ์ : ฉะเชิงเทรา สำนักพิมพ์ : วัดประตูน้ำท่าไข่ จำนวนหน้า : 114 หน้า สาระสังเขป : เป็นหนังสืออนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพ นายทองคำ วรรณยิ่ง ณ เมรุวัดประตูน้ำท่าไข่ อำเมือเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา ในวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2509 และในหนังสือเล่มนี้ได้พิมพ์หนังสือเรื่องประเพณีเกี่ยวกับชีวิต ของกรมศิลปากรไว้ด้วย




แนวคิดและความเข้าใจในกระบวนการทางโบราณคดี และการพิสูจน์ทราบข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ กับประเด็นการศึกษาเรื่อง "สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส กับแนวคิดและกระบวนการศึกษาทางโบราณคดีสยาม" ตอนที่ 1 โดย นายธีรศักดิ์ ธนูศิลป์ นักโบราณคดีชำนาญการ กองโบราณคดี


องค์ความรู้ เรื่อง เรื่องเล่าจากคลังโบราณวัตถุ : โบราณวัตถุจากแหล่งโบราณคดีบ้านเชียงในคลังพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นครศรีธรรมราช ค้นคว้า/เรียบเรียงโดย นางสาวชุติณัฐ ช่วยชีพ ภัณฑารักษ์ปฏิบัติการ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นครศรีธรรมราช


Messenger