ค้นหา

รายการที่พบทั้งหมด 41,351 รายการ

***บรรณานุกรม***  สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ จดหมายเหตุประกอบเรื่องไกลบ้าน  ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พิมพ์พระราชทานในงานพระศพ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาน สมเด็จพระสังฆราช ณ พระเมรุวัดเทพศิรินทราวาส 18 พฤศจิกายน 2505 พระนคร  โรงพิมพ์พระจันทร์ 2505



***บรรณานุกรม*** หนังสือหายาก พระยาวิทิตดรุณกูล กับ โชค สุคันธวณิช.  เลขคณิตมัธยมใหม่ สำหรับชั้นมัธยมปีที่ ๔.  พระนคร : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๔๙๔.


ชื่อเรื่อง                     ประชุมพงศาวดาร เล่ม 44 (ประชุมพงศาวดารภาคที่ 70 (ต่อ) - 71) เรื่องเมืองนครจำปาศักดิ์ (ต่อ) พงศาวดารละแวกผู้แต่ง                       -ประเภทวัสดุ/มีเดีย       หนังสือหายากหมวดหมู่                   ประวัติศาสตร์ทวีปเอเชียเลขหมู่                      959.3 จ657พ ล.44สถานที่พิมพ์               พระนครสำนักพิมพ์                 โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าวปีที่พิมพ์                    2512ลักษณะวัสดุ               312 หน้า หัวเรื่อง                     ไทย – ประวัติศาสตร์                              นครจำปาสัก -- ประวัติศาสตร์ ภาษา                       ไทยบทคัดย่อ/บันทึกประชุมพงศาวดาร เป็นหนังสือที่ให้ประโยชน์อย่างยิ่ง เพราะได้รวบรวมเรื่องเก่าๆ ที่มีสาระและคำอธิบายของผู้มีความรู้ในวิชาด้านทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีของไทย ประชุมพงศาวดาร เล่ม 44 ภาคที่ 70 (ต่อ) จะกล่าวถึงเรื่องเมืองนครจำปาศักดิ์    


                    ชื่อผู้แต่ง         สถาพรพิรัยพรต,พระองค์เจ้าพระ ชื่อเรื่อง          สามเณรสิกขาพระบาลีสำหรับสวดและแปล ครั้งที่พิมพ์      - สถานที่พิมพ์    พระนคร สำนักพิมพ์      โรงพิมพ์เลี่ยงเชียงจงเจริญ ปีที่พิมพ์         2507           จำนวน           40     หน้า หมายเหตุ       สามเณรสิกขาพระบาลีสำหรับสวดและแปลเป็นหนังสือสำหรับสามเณร ผู้เรียบเรียงได้รวบรวมข้อบัญญัติที่สามเณรพึงปฏิบัติซึ่งพระมหาเถระหลายรูปได้เรียบเรียงไว้ เช่น คำแปลสำหรับสวดของสมเด็จพระวันรัตวัดโสมนัสวิหาร องค์ศีลเก่าไม่ปรากฏผู้เรียงเรียง คำขอศีลและทัณฑกรรม ตลอดจนได้แปลเรื่องเสขิยวัตรของพระเจ้าน้องยาเธอกรมหมื่นวชิรญาณวโรรสฯ


หมวดหมู่                        นิทานพื้นเมืองภาษา                            บาลี/ไทยอีสานหัวเรื่อง                          นิทานพื้นเมือง                                    นิทาน -- ไทยประเภทวัสดุ/มีเดีย            คัมภีร์ใบลานลักษณะวัสดุ                    32 หน้า : กว้าง 6.5 ซม. ยาว 69.5 ซม. บทคัดย่อ                      เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรธรรมอีสาน เส้นจาร ฉบับลานดิบ ได้รับบริจาคมาจากพระอธิการเด่น ปญฺญาทีโป วัดคิรีรัตนาราม  ต.ดอนคา อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี ดำเนินการอนุรักษ์เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2534


สาระสับเขป              : คำฉันท์กล่อมในงานพระราชพิธีรับสมโภช และขึ้นระวางพระเศวตวรรัตนกรีฯ ณ จังหวัดเชียงใหม่ พุทธศักราช 2509ผู้แต่ง                       : -โรงพิมพ์                   : พระจันทร์ปีที่พิมพ์                   : 2509ภาษา                       : ไทยรูปแบบ                     : PDFเลขทะเบียน              : น. 31 บ. 12494เลขหมู่                     : 895.9114082                                 ค 355


วันพฤหัสบดีที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๖๓ อำเภอคลองหลวงมอบหมายให้องค์การบริหารส่วนตำบลคลองห้า ประกอบด้วย ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลคลองห้าเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองห้า และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลคลองห้า  ตรวจประเมินเพื่อการเฝ้าระวังและป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ สำหรับสวนพฤกษศาสตร์ สวนดอกไม้ พิพิธภัณฑ์ ศูนย์การเรียนรู้ แหล่งประวัติศาสตร์ โบราณสถาน ห้องสมุดสาธารณะ หอศิลป์ ณ หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ซึ่งหอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชผ่านการตรวจประเมินดังกล่าวและพร้อมสำหรับให้บริการ


เลขทะเบียน : นพ.บ.27/8ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ :  56 หน้า  ; 4.7 x 53 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 14 (152-160) ผูก 7หัวเรื่อง : ธมฺมปาลชาตก (ธรรมบาล) --เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


          เตาที่ใช้เผาเครื่องสังคโลกที่พบจากเมืองศรีสัชนาลัยและเมืองสุโขทัยมีอยู่ด้วยกัน ๒ ชนิดคือ เตาประทุน เป็นเตาที่ระบายความร้อนในแนวนอน ลักษณะเตามีรูปร่างรี พื้นเรียบแบน ก่อหลังคาโค้งบรรจบกันคล้ายประทุนเรือ จึงเป็นที่มาของชื่อ “เตาประทุน” มักวางตัวลาดเอียงจากส่วนหน้าขึ้นไปยังส่วนท้ายประมาณ ๑๐ - ๓๐ องศา ส่วนประกอบของเตาประทุนแบ่งเป็น ห้องใส่ไฟ อยู่ส่วนหน้าในระดับต่ำที่สุด ตอนหน้ามีช่องใส่ไฟเจาะเป็นช่องโค้งรูปเกือกม้า ถัดมาเป็น ห้องบรรจุภาชนะ อยู่บริเวณตอนกลางเตา เป็นส่วนที่กว้างที่สุดและลาดเทจากส่วนหน้าเตาไปยังปล่องไฟ บนพื้นมักโรยทรายหนาประมาณ ๑๐ - ๑๕ เซนติเมตร เพื่อใช้ฝังกี๋ท่อสำหรับรองรับภาชนะ และ ปล่องไฟ เป็นส่วนสุดท้ายของเตามีรูปร่างกลม           ส่วนเตาตะกรับเป็นเตาที่ระบายความร้อนในแนวดิ่ง ลักษณะเตามีรูปร่างกลม ส่วนประกอบของเตาตะกรับมีอยู่ ๒ ส่วนคือ ห้องบรรจุภาชนะ อยู่ตอนบนสุด มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ ๑.๕ เมตร ใช้วางภาชนะที่จะเผาแล้วใช้เศษภาชนะดินเผาวางสุมทับด้านบนอีกชั้นหนึ่งเพื่อให้ความร้อนไหลผ่านกลุ่มภาชนะได้ช้าลงและ ห้องใส่ไฟ เป็นบริเวณใส่เชื้อเพลิงเพื่อให้ความร้อนลอยขึ้นสู่ด้านบนมักมีช่องใส่เชื้อเพลิงยื่นออกมาด้านหน้าเพื่อใส่เชื้อเพลิงได้สะดวกและกันความร้อนในเตาให้ไหลสู่ด้านบนได้มากขึ้น ระหว่างห้องบรรจุภาชนะและปล่องไฟจะมีแผ่นดินเหนียวกลมหนาประมาณ ๑๕ - ๒๐ เซนติเมตร เจาะรูกลมเส้นผ่านศูนย์กลาง ๕ - ๑๐ เซนติเมตร จำนวนมากคั่นอยู่ เรียกว่า “แผ่นตะกรับ” ทำหน้าที่ให้ความร้อนไหลผ่านจากด้านล่างสู่ห้องบรรจุภาชนะด้านบนมักวางอยู่บนค้ำยันที่ทำจากดินเหนียวอยู่เบื้องล่างภายในพื้นที่ห้องใส่ไฟ ภาพ : เตาเผาสังคโลกหมายเลข ๖๑ อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ที่มาข้อมูล : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สวรรควรนายก



รองอธิบดีกรมศิลปากร(นายสหภูมิ ภูมิธฤติรัฐ)ประชุมร่วมคณะกรรมการกำกับการศึกษาแผนอนุรักษ์และพัฒนาโบราณสถานเมืองเสมา และให้คำแนะนำในการปรับปรุงแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงานและตรวจเยี่ยมหน่วยงานในสังกัดสำนักศิลปากรที่ ๑๒ นครราชสีมาในวันที่ ๓๐-๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘




ชื่อเรื่อง                     มหาชาติพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 4ผู้แต่ง                       ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาประเภทวัสดุ/มีเดีย       หนังสือหายากหมวดหมู่                   พระพุทธศาสนาเลขหมู่                      294.31881 ม233มจสถานที่พิมพ์               พระนครสำนักพิมพ์                 โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัยปีที่พิมพ์                    2508ลักษณะวัสดุ               120 หน้า หัวเรื่อง                     มหาชาติภาษา                       ไทยบทคัดย่อ/บันทึกมหาชาติพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 4 มีอยู่ 5 กัณฑ์ คือวันปเวศน์กัณฑ์ 1 จุลพนกัณฑ์ 1 มหาพนกัณฑ์ 1 สักรบรรพกัณฑ์ 1 ฉกษัตริย์กัณฑ์ 1


Messenger