ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 41,351 รายการ
เลขทะเบียน : นพ.บ.46/6ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 62 หน้า ; 4.6 x 51.5 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 28 (282-294) ผูก 6หัวเรื่อง : ธรรมบท --เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
ชื่อเรื่อง : ตำนานวัดพระธาตุผาเงา อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
ผู้แต่ง : ประวิทย์ ตันตลานุกุล
ปีที่พิมพ์ : 2553
สถานที่พิมพ์ : เชียงใหม่
สำนักพิมพ์ : เชียงใหม่โรงพิมพ์แสงศิลป์
ชื่อเรื่อง : นางนพมาศ หรือ ตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์
ชื่อผู้แต่ง : -
ปีที่พิมพ์ : 2508
สถานที่พิมพ์ : พระนคร
สำนักพิมพ์ : โรงพิมพ์ภักดีประดิษฐ์
จำนวนหน้า : 130 หน้า
สาระสังเขป : หนังสือเรื่องนี้แต่ก่อนมีชื่อเรียก 3 ชื่อ ได้แก่เรื่องนางนพมาศ เรื่องเรวดีนพมาศ และเรื่องตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ซึ่งแท้จริงแล้วเป็นเรื่องเดียวกันทั้งหมด กล่าวถึงนางนพมาศ ผู้มีบิดาเป็นพราหมณ์รับราชการในตำแหน่งพระศรีมโหสถ ครั้งนครสุโขทัยเป็นราชธานีของสยามประเทศ มารดาของนางนพมาศชื่อนางเรวดี บิดามารดาได้นำนางนพมาศถวายทำราชการในสมเด็จพระร่วง ได้เป็นพระสนมเอกตำแหน่งท้าวศรีจุฬาลักษณ์ เนื้อหาในหนังสือเล่มนี้กล่าวถึงเรื่องชาติและภาษาต่าง ๆ การสรรเสริญพระเกียรติสมเด็จพระร่วงเจ้า ประวัตินางนพมาศก่อนเป็นพระสนม พระศรีมโหสถสมโภชนางนพมาศ ขนบธรรมเนียมนางสนมในราชสำนัก พระราชพิธีจองเปรียงในวันเพ็ญเดือน 12 และ พิธี 12 เดือน ซึ่งเป็นพระราชประเพณีในครั้งกรุงสุโขทัย
องค์ความรู้ เรื่อง ธรรมจักร สลักภาพ แสดงสัญลักษณ์ปางประสูติ จัดทำข้อมูลโดยพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระปฐมเจดีย์
ชื่อผู้แต่ง : พระมาลัย
ชื่อเรื่อง : หนังสือเรื่องพระมาลัย (คัดจากสมุดข่อย)
ปีที่พิมพ์ : 2495
สถานที่พิมพ์ : มปท.
จำนวนหน้า 76 หน้า
หนังสือพระมาลัย เป็นหนังสือเก่า ต้นฉบับเขียนในสมุดข่อย เขียนเป็นตัวโบราณ ไม่แน่ใจว่าเขียนขึ้นเมื่อไร ผู้เขียนได้รับมรดกตกทอดมาจากบรรพบุรุษ หนังสือพระมาลัยเล่มนี้จึงรักษาถ้อยคำสำนวนไว้ให้ใกล้เคียงกับต้นฉบับเดิม
ชื่อผู้แต่ง : พระราชพิธีและพระราชกิจในการทรงผนวช
ชื่อเรื่อง : พระราชพิธีและพระราชกิจในการทรงผนวช ตุลาคม-พฤศจิกายน 2499
ปีที่พิมพ์ : 2500
สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพ
โรงพิมพ์ : ป.ป.ท
จำนวนหน้า 219 หน้า
หนังสือพระราชพิธีและพระราชกิจในการทรงผนวช พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้มีพระราชประสงฆ์จะทรงผนวชในพุทธศาสนา เพราะทรงดำริว่าเป็นศาสนาประจำชาติ และทรงศรัทธายิ่งขึ้นเมื่อทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจเพราะความประจักว่าคำสอนของสมเด็จพระพุทธเจ้าประกอบด้วยเหตุผลและสัจธรรม จึงมีพระราชดำรัสให้นายกรัฐมนตรีเข้าเฝ้าฯ และแจ้งพระราชประสงค์เพื่อทราบ นายกรัฐมนตรีได้นำกระแสรับสั่งหารือรัฐสภา เพื่อจะทรงแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ในระหว่างที่ทรงพระผนวช จึงทรงแต่งตั้งสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี และรัฐบาลมอบกระทรวงวัฒนธรรมเป็นเจ้าของงาน
ชื่อผู้แต่ง : ประชุมพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 5
ชื่อเรื่อง : ประชุมพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้จัดพิมพ์ในงานศพพระบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า
พวงสร้อยอางค์
ปีที่พิมพ์ : 2493
สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ
โรงพิมพ์ : ท่าพระจันทร์
จำนวนหน้า 42 หน้า
ในงานพระเมรุ ท้องสนามหลวง ใช้ได้กับทุกคนทุกหมู่คณะไม่เว้นแต่คณะสงฆ์ ให้รู้จักทำความเคาระต่อผู้ที่ตนควรเคารพโดยอาศัยระเบียบและธรรมเนียม และอาศัยระเบียบแบบแผนของคณะสงฆ์เป็นหลักวิชา ลำดับชั้นตั้งแต่เจ้าอาวาสขึ้นไป และครูผู้สอน ระเบียบแห่งการแสดงความเคารพเรียกว่าการขอขมา ขออัจจโยโทษ และขอให้ใช้ระเบียบนี้อบรมอย่างน้อยปี ละสองครั้งคือต้นเข้าพรรษา และปลายพรรษา
ชื่อผู้แต่ง : วิจิตรธรรมปริวัตร, พระยา
ชื่อเรื่อง : พุทธภาษิตฉบับหอสมุดแห่งชาติ
ปีที่พิมพ์ : 2468
สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ
โรงพิมพ์ : บรรณกิจ
จำนวนหน้า 152 หน้า
หนังสือพุทธภาษิตฉบับหอสมุดแห่งชาติ เล่มนี้ พระยาวิจิตรธรรมปริวัตร, พระยา แต่งขึ้นเพื่อจะได้เป็นหนังสือที่ระลึกในโอกาสต่างๆ หรืออีกนัยหนึ่งเขียนเพื่อเตรียมไว้สำหรับใช้ในงานศพของตัวเองนั้นเอง การแต่งเป็นโครงภาษิตนุสรณ์
ชื่อผู้แต่ง : พระมาลัย
ชื่อเรื่อง : หนังสือเรื่องพระมาลัย (คัดจากสมุดข่อย)
ปีที่พิมพ์ : 2495
สถานที่พิมพ์ : มปท.
จำนวนหน้า 76 หน้า
หนังสือพระมาลัย เป็นหนังสือเก่า ต้นฉบับเขียนในสมุดข่อย เขียนเป็นตัวโบราณ ไม่แน่ใจว่าเขียนขึ้นเมื่อไร
ผู้เขียนได้รับมรดกตกทอดมาจากบรรพบุรุษ หนังสือพระมาลัยเล่มนี้จึงรักษาถ้อยคำสำนวนไว้ให้ใกล้เคียงกับต้นฉบับเดิม
ชื่อผู้แต่ง : ก้าน จำนงภูมิเวท ,พลตรี
ชื่อเรื่อง : แผนผังสร้างตนให้อยู่ในระดับชุมชนอนุสรณ์เนื่องในงานพระราชเพลิงศพพลตรีก้าน จำนงภูมิเวท
ปีที่พิมพ์ : 2507
สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ
โรงพิมพ์ : เมืองสงขลา
จำนวนหน้า 240 หน้า
หนังสือแผนผังสร้างตนให้อยู่ในระดับชุมชน หรืออีกนัยหนึ่งแผนการสร้างชีวิตให้เจริญรุ่งเรืองพร้อมทั้งคำอธิบาย ที่ปรากฏอยู่เฉพาะหน้าของท่าน และการดำเนินชีวิตอันเหมาะสม ที่ผู้เขียนได้จัดสรรจากหลักการและตำราพร้อมคำอธิบายที่เห็นว่าสมควร
ชื่อผู้แต่ง : กรมศิลปากร
ชื่อเรื่อง : ศิลปในประเทศไทย
ปีที่พิมพ์ : 2505
สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ
โรงพิมพ์ : หจก.ศิวพร
จำนวนหน้า 298 หน้า
หนังสือศิลปะในประเทศไทยได้เขียนขึ้นหลังจากศิลปวัตถุไทย ซึ่งได้นำไปแสดง ณ ประเทศสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่นกลับมาถึงประเทศไทยเรียบร้อยแล้ว สืบเนื่องจากประเทศสหรัฐอเมริกาอยากให้ประชาชนของเขาได้ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับศิลปะของประเทศต่างๆ รวมถึงประเทศไทยจึงได้ติดต่อเพื่อขอให้ประเทศไทยได้นำศิลปวัตถุไปแสดงซึ่งใช้เวลาเจรจาและกว่าจะได้ข้อตกลงร่วมกันต้องใช้เวลา ถึง 3 ปี ซึ่งมีวัตถุแบบต่างๆ เช่นแบบทวารวดี แบบเทวรูป ศิลปะแบบศรีวิชัย ศิลปะแบบลพบุรี ศิลปะแบบเชียงแสน ศิลปแบบสุโขทัย ศิลปะแบบอู่ทอง ศิลปะแบบอยุธยา และศิลปะแบบรัตนโกสินทร์ รวมทั้งหมด 295 รายการ และได้ไปจัดแสดง ณ มหาวิทยาลัยอินเดียนา และเป็นที่สนใจของคนสหรัฐอเมริกาเป็นจำนวนมาก
ชื่อผู้แต่ง : นายฟัก สุทธิชาติ
ชื่อเรื่อง : อนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพนายฟัก สุทธิชาติ
ปีที่พิมพ์ : 2516
สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ
โรงพิมพ์ : ร.ส.พ.
จำนวนหน้า 104 หน้า
หนังสืออนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพนายฟัก สุทธิชาติ
ชื่อผู้แต่ง : กรมศิลปกร
ชื่อเรื่อง : ประติมากรรมทางพระพุทธศาสนาของไทย
ปีที่พิมพ์ : 2544
สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพ
โรงพิมพ์ : รุ่งสิทธิ์
จำนวนหน้า 28 หน้า
หนังสือเล่มนี้จัดพิมพ์โดยกรมศิลปากรได้จัดทำขี้นเพื่อให้ผู้อ่านได้รู้เกี่ยวศิลปวัฒนธรรมในมุมมองที่ลึกซี่ง โดยมีรูปภาพ ชี่งแสดงถึง มรดกทางศิลปวัฒนธรรมของไทย ให้ต่างชาติได้รับรู้และเป็นการเผยแพร่ส่งเสริมความเข้าทางศิลปะและวัฒนธรรมของชาติไทยสู่สาธารณะชน
ชื่อผู้แต่ง : นายโป้ พิโรจน์รัตน์
ชื่อเรื่อง : เรื่องของธนบัตรในงานฌาปนกิจศพ
ปีที่พิมพ์ : ๒๕๑๐
สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ
โรงพิมพ์ : พระนคร
จำนวนหน้า 156 หน้า
หนังสือเรื่องเรื่องของธนบัตรได้รวบรวมเรื่องของธนบัตรขึ้นเป็นหมวดหมู่เพื่อเป็นประโยชน์ของหน่วยงานที่ปฏิบัติ
อยู่หรือเพื่อแนะนำพนักงานใหม่ให้ทราบเพื่อจะได้มีประสิทธิ์ภาพในการทำงาน และเพื่อมีการเข้าเยี่ยมชมธนาคารแห่งประเทศไทย หนังสือได้กล่าวถึงรายละเอียดของธนบัตรแต่ละรุ่นไว้อย่างละเอียด
ชื่อผู้แต่ง : พระราชพิธีและพระราชกิจในการทรงผนวช
ชื่อเรื่อง : พระราชพิธีและพระราชกิจในการทรงผนวช ตุลาคม-พฤศจิกายน 2499
ปีที่พิมพ์ : 2500
สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพ
โรงพิมพ์ : ป.ป.ท
จำนวนหน้า 219 หน้า
หนังสือพระราชพิธีและพระราชกิจในการทรงผนวช พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้มีพระราชประสงฆ์จะทรงผนวชในพุทธศาสนา เพราะทรงดำริว่าเป็นศาสนาประจำชาติ และทรงศรัทธายิ่งขึ้นเมื่อทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจเพราะความประจักว่าคำสอนของสมเด็จพระพุทธเจ้าประกอบด้วยเหตุผลและสัจธรรม จึงมีพระราชดำรัสให้นายกรัฐมนตรีเข้าเฝ้าฯ และแจ้งพระราชประสงค์เพื่อทราบ นายกรัฐมนตรีได้นำกระแสรับสั่งหารือรัฐสภา เพื่อจะทรงแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ในระหว่างที่ทรงพระผนวช จึงทรงแต่งตั้งสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี และรัฐบาลมอบกระทรวงวัฒนธรรมเป็นเจ้าของงาน
ชื่อผู้แต่ง : ประชุมพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 5
ชื่อเรื่อง : ประชุมพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้จัดพิมพ์ในงานศพพระบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า
พวงสร้อยอางค์
ปีที่พิมพ์ : 2493
สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ
โรงพิมพ์ : ท่าพระจันทร์
จำนวนหน้า 42 หน้า
ในงานพระเมรุ ท้องสนามหลวง ใช้ได้กับทุกคนทุกหมู่คณะไม่เว้นแต่คณะสงฆ์ ให้รู้จักทำความเคาระต่อผู้ที่ตนควรเคารพโดยอาศัยระเบียบและธรรมเนียม และอาศัยระเบียบแบบแผนของคณะสงฆ์เป็นหลักวิชา ลำดับชั้นตั้งแต่เจ้าอาวาสขึ้นไป และครูผู้สอน ระเบียบแห่งการแสดงความเคารพเรียกว่าการขอขมา ขออัจจโยโทษ และขอให้ใช้ระเบียบนี้อบรมอย่างน้อยปี ละสองครั้งคือต้นเข้าพรรษา และปลายพรรษา
ชื่อผู้แต่ง : วิจิตรธรรมปริวัตร, พระยา
ชื่อเรื่อง : พุทธภาษิตฉบับหอสมุดแห่งชาติ
ปีที่พิมพ์ : 2468
สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ
โรงพิมพ์ : บรรณกิจ
จำนวนหน้า 152 หน้า
หนังสือพุทธภาษิตฉบับหอสมุดแห่งชาติ เล่มนี้ พระยาวิจิตรธรรมปริวัตร, พระยา แต่งขึ้นเพื่อจะได้เป็นหนังสือที่ระลึกในโอกาสต่างๆ หรืออีกนัยหนึ่งเขียนเพื่อเตรียมไว้สำหรับใช้ในงานศพของตัวเองนั้นเอง การแต่งเป็นโครงภาษิตนุสรณ์
ชื่อผู้แต่ง : พระมาลัย
ชื่อเรื่อง : หนังสือเรื่องพระมาลัย (คัดจากสมุดข่อย)
ปีที่พิมพ์ : 2495
สถานที่พิมพ์ : มปท.
จำนวนหน้า 76 หน้า
หนังสือพระมาลัย เป็นหนังสือเก่า ต้นฉบับเขียนในสมุดข่อย เขียนเป็นตัวโบราณ ไม่แน่ใจว่าเขียนขึ้นเมื่อไร
ผู้เขียนได้รับมรดกตกทอดมาจากบรรพบุรุษ หนังสือพระมาลัยเล่มนี้จึงรักษาถ้อยคำสำนวนไว้ให้ใกล้เคียงกับต้นฉบับเดิม
ชื่อผู้แต่ง : ก้าน จำนงภูมิเวท ,พลตรี
ชื่อเรื่อง : แผนผังสร้างตนให้อยู่ในระดับชุมชนอนุสรณ์เนื่องในงานพระราชเพลิงศพพลตรีก้าน จำนงภูมิเวท
ปีที่พิมพ์ : 2507
สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ
โรงพิมพ์ : เมืองสงขลา
จำนวนหน้า 240 หน้า
หนังสือแผนผังสร้างตนให้อยู่ในระดับชุมชน หรืออีกนัยหนึ่งแผนการสร้างชีวิตให้เจริญรุ่งเรืองพร้อมทั้งคำอธิบาย ที่ปรากฏอยู่เฉพาะหน้าของท่าน และการดำเนินชีวิตอันเหมาะสม ที่ผู้เขียนได้จัดสรรจากหลักการและตำราพร้อมคำอธิบายที่เห็นว่าสมควร
ชื่อผู้แต่ง : กรมศิลปากร
ชื่อเรื่อง : ศิลปในประเทศไทย
ปีที่พิมพ์ : 2505
สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ
โรงพิมพ์ : หจก.ศิวพร
จำนวนหน้า 298 หน้า
หนังสือศิลปะในประเทศไทยได้เขียนขึ้นหลังจากศิลปวัตถุไทย ซึ่งได้นำไปแสดง ณ ประเทศสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่นกลับมาถึงประเทศไทยเรียบร้อยแล้ว สืบเนื่องจากประเทศสหรัฐอเมริกาอยากให้ประชาชนของเขาได้ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับศิลปะของประเทศต่างๆ รวมถึงประเทศไทยจึงได้ติดต่อเพื่อขอให้ประเทศไทยได้นำศิลปวัตถุไปแสดงซึ่งใช้เวลาเจรจาและกว่าจะได้ข้อตกลงร่วมกันต้องใช้เวลา ถึง 3 ปี ซึ่งมีวัตถุแบบต่างๆ เช่นแบบทวารวดี แบบเทวรูป ศิลปะแบบศรีวิชัย ศิลปะแบบลพบุรี ศิลปะแบบเชียงแสน ศิลปแบบสุโขทัย ศิลปะแบบอู่ทอง ศิลปะแบบอยุธยา และศิลปะแบบรัตนโกสินทร์ รวมทั้งหมด 295 รายการ และได้ไปจัดแสดง ณ มหาวิทยาลัยอินเดียนา และเป็นที่สนใจของคนสหรัฐอเมริกาเป็นจำนวนมาก
ชื่อผู้แต่ง : นายฟัก สุทธิชาติ
ชื่อเรื่อง : อนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพนายฟัก สุทธิชาติ
ปีที่พิมพ์ : 2516
สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ
โรงพิมพ์ : ร.ส.พ.
จำนวนหน้า 104 หน้า
หนังสืออนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพนายฟัก สุทธิชาติ
ชื่อผู้แต่ง : กรมศิลปกร
ชื่อเรื่อง : ประติมากรรมทางพระพุทธศาสนาของไทย
ปีที่พิมพ์ : 2544
สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพ
โรงพิมพ์ : รุ่งสิทธิ์
จำนวนหน้า 28 หน้า
หนังสือเล่มนี้จัดพิมพ์โดยกรมศิลปากรได้จัดทำขี้นเพื่อให้ผู้อ่านได้รู้เกี่ยวศิลปวัฒนธรรมในมุมมองที่ลึกซี่ง โดยมีรูปภาพ ชี่งแสดงถึง มรดกทางศิลปวัฒนธรรมของไทย ให้ต่างชาติได้รับรู้และเป็นการเผยแพร่ส่งเสริมความเข้าทางศิลปะและวัฒนธรรมของชาติไทยสู่สาธารณะชน
ชื่อผู้แต่ง : พระมาลัย
ชื่อเรื่อง : หนังสือเรื่องพระมาลัย (คัดจากสมุดข่อย)
ปีที่พิมพ์ : 2495
สถานที่พิมพ์ : มปท.
จำนวนหน้า 76 หน้า
หนังสือพระมาลัย เป็นหนังสือเก่า ต้นฉบับเขียนในสมุดข่อย เขียนเป็นตัวโบราณ ไม่แน่ใจว่าเขียนขึ้นเมื่อไร ผู้เขียนได้รับมรดกตกทอดมาจากบรรพบุรุษ หนังสือพระมาลัยเล่มนี้จึงรักษาถ้อยคำสำนวนไว้ให้ใกล้เคียงกับต้นฉบับเดิม
เงินพดด้วง เป็นเงินตราที่ชาวไทผลิตขึ้นใช้ต่อเนื่องยาวนานมาตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๙ เรื่อยมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ โดยการตัดโลหะเงินเป็นชิ้นเล็กๆ ให้ได้น้ำหนักตามต้องการแล้วนำไปหลอมจากนั้นเทโลหะที่ละลายดีแล้วลงเบ้าไม้ที่แช่อยู่ในน้ำ จากนั้นนำมาทำให้งอโดยตอกแบ่งครึ่งด้วยสิ่วสองคม แล้วทุบปลายทั้งสองข้างเข้าหากันจนขดงอคล้ายตัวด้วง เงินพดด้วงที่ตีด้วยค้อนจนเข้ารูปแล้วจะถูกนำไปวางบนทั่งเหล็กหรือกระดูกขาช้าง เพื่อตอกประทับตราประจำแผ่นดินและตราประจำรัชกาลลงบนตัวเงิน เนื่องจากเงินพดด้วงเป็นเงินตราที่ใช้มาตราน้ำหนักเป็นมาตรฐานพิกัดราคา จึงไม่มีการระบุพิกัดราคาไว้บนตัวเงินเงินพดด้วงถูกนำมาใช้เป็นสื่อกลางในการซื้อขายแลกเปลี่ยนในล้านนา จากการติดต่อค้าขายกับสุโขทัยและอยุธยา ต่อมาในสมัยรัตนโกสินทร์ก็ยังคงมีการนำเงินพดด้วงมาใช้ในล้านนา เงินพดด้วงในสมัยรัตนโกสินทร์นี้มีตราจักรเป็นตราประจำแผ่นดิน และมีตราอุณาโลม ครุฑ ปราสาทและมหามงกุฎประทับลงบนพดด้วง -----------------------------------------------ที่มาของข้อมูล : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน -----------------------------------------------เอกสารอ้างอิง เงินตราล้านนา : นวรัตน์ เลขะกุล/ธนาคารแห่งประเทศไทย นพบุรีการพิมพ์ เชียงใหม่, ๒๕๕๕ เงินตราล้านนาและผ้าไท : ธนาคารแห่งประเทศไทย อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), ๒๕๔๓ เบี้ย บาท กษาปณ์ แบงค์ : นวรัตน์ เลขะกุล สนพ.สารคดี, ๒๕๔๗
เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2563 พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย ได้รับการประสานจากนางสาววรรณทิพย์ ปลื้มจิตร ผู้ปกครองของเด็กชายณัฎฐ์สักก์ จันทร์เกษม ว่าหลานชายได้พบประติมากรรมรูปเต่าอยู่ภายในโบราณสระโบสถ์(พบอยู่ใต้น้ำ) ภายในเมืองพิมาย และได้นำมามอบให้พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย ในเวลาต่อมา เมื่อลงพื้นที่ตรวจสอบพบว่า ตำแหน่งที่พบโบราณวัตถุอยู่ใต้น้ำ บริเวณด้านทิศใต้ของสระโบสถ์ ใกล้กับเนินดินกลางสระน้ำ โดยอยู่ด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเนินดิน โบราณวัตถุที่พบจากสระโบสถ์นี้ ได้แก่ ประติมากรรมรูปเต่า มีลักษณะการสลักเป็นรูปใบหน้าและกระดองเต่าอย่างชัดเจน ด้านบนกระดองเจาะช่องรูปสี่เหลี่ยม 7 ช่อง ล้อมรอบช่องสามเหลี่ยมขนาดใหญ่ตรงกลางโดยด้านในช่องสามเหลี่ยมมีก้อนหินรูปสามเหลี่ยมวางอยู่ เมื่อนำประติมากรรมรูปเต่ามาทำความสะอาดและนำน้ำที่ขังอยู่ภายในช่องออก พบชิ้นส่วนแผ่นทองจำนวน 6 แผ่น บรรจุอยู่ภายในช่อง สำหรับประติมากรรมรูปเต่าที่พบนี้ สันนิษฐานว่าเป็นแท่นบรรจุวัตถุมงคลที่ใช้ในการวางฤกษ์ของสระน้ำ และพบว่ามีรูปแบบสัมพันธ์กับประติมากรรมรูปเต่าที่พบจากการขุดค้นทางโบราณคดีบริเวณสระสรง เมืองพระนคร จังหวัดเสียมเรียบ ประเทศกัมพูชา เมื่อเดือนพฤษภาคม 2563 นี้ ทั้งนี้ ในส่วนของข้อมูลการศึกษา พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย จะขอนำเสนอบทความเกี่ยวกับประติมากรรมรูปเต่านี้ในเดือนถัดไป สามารถรอติดตามได้ผ่านเฟสบุ๊กเพจ https://www.facebook.com/PhimaiNationalMuseum/----------------------------------------------ข้อมูล : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย จังหวัดนครราชสีมา----------------------------------------------