ค้นหา

รายการที่พบทั้งหมด 41,347 รายการ

องค์ความรู้จาก งานอนุรักษ์เอกสารของหอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สงขลาในสัปดาห์นี้ ขอเสนอ เรื่อง การอนุรักษ์เอกสาร : การซ่อมเอกสาร ตอนที่ ๑ การเตรียมเอกสารก่อนการซ่อม  เนื้อหากล่าวถึง หลักสำคัญในการซ่อม การลดกรดเอกสาร วิธีผสมกาว และ อุปกรณ์และสารเคมีที่ใช้ในการซ่อมเอกสาร จากการเรียบเรียงของ นางภารดี สุภากาญจน์ นักจดหมายเหตุชำนาญการ เเละกราฟิกโดยนายวีรวัฒน์ เหลาธนู นักจดหมายเหตุปฏิบัติการ  ขอบคุณภาพบางส่วนจาก หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติฯ พะเยา



         ตราดินเผารูปบุคคลกำลังหาบของ จากเมืองโบราณอู่ทอง          ตราดินเผารูปบุคคลกำลังหาบของ พบบริเวณเมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จัดแสดง ณ ห้องบรรพชนคนอู่ทอง พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง          ตราดินเผา กว้าง ๓ เซนติเมตร สูง ๒ เซนติเมตร อยู่ในสภาพชำรุด หักเหลือเพียงครึ่งชิ้น ผิวหน้ามีรอยกดประทับเป็นรูปนูนต่ำภาพบุคคลกำลังหาบของ เมื่อศึกษาเปรียบเทียบกับตราดินเผาสมัยทวารวดีชิ้นอื่นๆ พบว่ามีรูปแบบเดียวกันกับตราดินเผารูปบุคคลกำลังหาบของที่จัดแสดง ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ตราดินเผาดังกล่าวเป็นตราดินเผาทรงกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง ๓.๘ เซนติเมตร ผิวหน้ามีรอยกดประทับเป็นรูปบุคคลที่เป็นเพียงเค้าโครงอย่างง่าย ไม่แสดงรายละเอียดของใบหน้าหรือเครื่องแต่งกาย มีสัดส่วนไม่สมจริงตามธรรมชาติ โดยมีมือใหญ่และยาวลงมาถึงหัวเข่า รูปบุคคลดังกล่าวกำลังหาบของโดยใช้ไม้คานวางพาดบนบ่า ของที่หาบอยู่มีลักษณะเป็นทรงกระบอกยาว อาจเป็นกระบุง หีบ หรือเครื่องใช้อื่นๆ สำหรับบรรจุสิ่งของ ส่วนด้านหน้ามีรูปบุคคลขนาดเล็ก ซึ่งอาจหมายถึงรูปเด็ก         ตราดินเผารูปบุคคลในอิริยาบถต่าง ๆ พบมาแล้วในศิลปะอินเดีย ในงานศิลปกรรมสมัยทวารวดีนอกจากตราดินเผาชิ้นนี้ ยังพบตราดินเผารูปบุคคลอีกหลายแบบ เช่น รูปบุคคล ๒ คนขี่ม้าตีคลี พบที่เมืองโบราณอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เมืองนครปฐมโบราณ จังหวัดนครปฐม และเมืองจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ รูปสตรี ๓ คน พบที่เมืองซับจำปา จังหวัดลพบุรี รูปบุคคลปีนต้นไม้ พบที่เมืองจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ เป็นต้น สันนิษฐานว่าอาจมีการนำเหตุการณ์ที่พบเห็นได้ในชีวิตประจำวันมาสร้างสรรค์เป็นลวดลายต้นแบบบนตราประทับ เช่น การขี่ม้าตีคลี และการปีนต้นไม้ เป็นต้น         สันนิษฐานว่าตราดินเผาชิ้นนี้น่าจะผลิตขึ้นในท้องถิ่นโดยคนพื้นเมืองทวารวดี โดยรับอิทธิพลทางด้านรูปแบบและคติความเชื่อมาจากอินเดีย และอาจมีการนำเหตุการณ์ที่พบเห็นในชีวิตประจำวันมาเป็นต้นแบบ และนำมาผลิตเป็นตราดินเผาในรูปอย่างง่าย เพื่อใช้สำหรับเป็นสัญลักษณ์ประจำตัวบุคคลหรือกลุ่มคน ชนชั้นปกครอง นักเดินทาง หรือพ่อค้าก็เป็นได้ กำหนดอายุสมัยทวารวดี ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๒ - ๑๔ หรือประมาณ ๑,๒๐๐ - ๑,๔๐๐ ปีมาแล้ว        เอกสารอ้างอิง อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ. “การศึกษาความหมายและรูปแบบตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี”. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๗. ที่มารูปภาพ ภาพตราดินเผารูปบุคคลกำลังหาบของ จัดแสดงที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ จาก อนันต์ กลิ่นโพธิ์กลับ. “การศึกษาความหมายและรูปแบบตราประทับสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี”. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๗.


ชื่อเรื่อง                                        สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม  (สงฺคิณี-มหาปฏฺฐาน) อย.บ.                                           39/2ประเภทวัดุ/มีเดีย                       คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่                                     พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ                              36 หน้า : กว้าง 5 ซม. ยาว 59 ซม.หัวเรื่อง                                        พุทธศาสนาบทคัดย่อ/บันทึก               เป็นคัมภีร์ใบลาน เส้นจาร ฉบับทองทึบ ไม้ประกับธรรมดา ได้รับบริจาคมาจาก จ.พระนครศรีอยุธยา


จากการสำรวจขุดค้นแหล่งเรือจมบางกะไชย 2 อำเภอแหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี พบปืนใหญ่จำนวน 2 กระบอก ซึ่งใช้เป็นอาวุธประจำเรือ ที่สามารถป้องกันการบุกรุกจากเรือโจรสลัดได้ในระยะไกล วันนี้จึงขอนำเสนอเกร็ดความรู้เกี่ยวกับหลักฐานปืนใหญ่ที่พบจากแหล่งเรือจมลำนี้


สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม (สงฺคิณี-มหาปฎฺฐาน) ชบ.บ 134/2เอกสารโบราณ (คัมภีร์ใบลาน)


สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม (สงฺคิณี-มหาปฎฺฐาน) ชบ.บ 170/2เอกสารโบราณ(คัมภีร์ใบลาน)


ชื่อเรื่อง                                        สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม  (สงฺคิณี-มหาปฏฺฐาน) อย.บ.                                           5/3ประเภทวัดุ/มีเดีย                       คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่                                     พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ                              38 หน้า : กว้าง 5 ซม. ยาว 56.5 ซม.หัวเรื่อง                                        พุทธศาสนา                                                      พระอภิธรรมบทคัดย่อ/บันทึก               เป็นคัมภีร์ใบลาน เส้นจาร ฉบับทองทึบ ไม้ประกับธรรมดา ได้รับบริจาคมาจาก จ.พระนครศรีอยุธยา


ชื่อเรื่อง                                        สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม  (สงฺคิณี-มหาปฏฺฐาน) อย.บ.                                           23/4ประเภทวัดุ/มีเดีย                          คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่                                     พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ                                30 หน้า : กว้าง 5 ซม. ยาว 54.5 ซม.หัวเรื่อง                                       พุทธศาสนาบทคัดย่อ/บันทึก               เป็นคัมภีร์ใบลาน เส้นจาร ฉบับทองทึบ ไม้ประกับธรรมดา ได้รับบริจาคมาจาก จ.พระนครศรีอยุธยา


ชื่อเรื่อง                                        สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม  (สงฺคิณี-มหาปฏฺฐาน) อย.บ.                                           8/2ประเภทวัดุ/มีเดีย                       คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่                                     พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ                              38 หน้า : กว้าง 5 ซม. ยาว 58.5 ซม.หัวเรื่อง                                        พุทธศาสนาบทคัดย่อ/บันทึก               เป็นคัมภีร์ใบลาน เส้นจาร ฉบับทองทึบ ไม้ประกับธรรมดา ได้รับบริจาคมาจาก จ.พระนครศรีอยุธยา



ชื่อผู้แต่ง        สโมสรไลออนส์สากล ชื่อเรื่อง         เสียงสิงโต (มกราคม ๒๕๑๕) ครั้งที่พิมพ์     - สถานที่พิมพ์   พระนคร    สำนักพิมพ์     โรงพิมพ์ศรีการช่าง ปีที่พิมพ์        ๒๕๑๕ จำนวนหน้า    ๕๖ หน้า รายละเอียด                  สโมสรไลออนส์สากลเป็นองค์กรการกุศลนานาชาติ มีนโยบายให้ความช่วยเหลือชุมชน สังคม เยาวชน ผู้ขาดโอกาส ด้วยจิตวิญญาณ และเป็นการพัฒนา ความรู้กับสมาชิกในหลักสูตรต่างๆ อย่างเหมาะสม สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริงและก้าวขึ้นเป็นผู้นำที่มีคุณภาพและมีคุณธรรม ภายในเล่มประกอบไปด้วย ๙ บทความ เช่น คุณครูคอมพิวเตอร์, งานอาชีพสัมพันธ์กับศิลปะการพูด, ตำรายาวิเศษ ฯลฯ


เลขทะเบียน : นพ.บ.472/11ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 56 หน้า ; 4 x 55 ซ.ม. : ชาดทึบ-รักทึบ-ล่องชาด-ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดาชื่อชุด : มัดที่ 161  (183-194) ผูก 11 (2566)หัวเรื่อง : พระไตรโลกวินิจฉัย--เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


เลขทะเบียน : นพ.บ.605/7              ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณ                                                                                หมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 44 หน้า ; 4 x 53.5 ซ.ม. : ล่องชาด ; ไม้ประกับธรรมดา มีฉลากไม้ชื่อชุด : มัดที่ 194  (408-415) ผูก 7 (2566)หัวเรื่อง : พระธัมมสังคิณี--เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


ถึงจะปิดเทอมแล้ว แต่เราก็สามารถเรียนรู้อยู่ที่บ้านได้นะคะเรียนรู้สำนวนไทยผ่านสัตว์เลี้ยงโบราณ ณ บ้านเชียงวันนี้เสนอตอน "มะหมา" โดยนางสาวรัชฏญาภรณ์ ประทุมวัน สาขาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


Messenger