ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 40,815 รายการ
สาระสังเขป : เป็นพระราชหัตถเลขาทรงสั่งราชการในรัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 6 ในเรื่องต่างๆ ของกระทรวงเกษตร กระทรวงคมนาคม กระทรวงยุติธรรม กระทรวงธรรมการ กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงการวังผู้แต่ง : จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด้จพระ, 2396-2454โรงพิมพ์ : พระจันทร์ปีที่พิมพ์ : 2507ภาษา : ไทยรูปแบบ : PDFเลขทะเบียน : น.31บ.12256เลขหมู่ : 354.593035 จ657พส
เลขทะเบียน : นพ.บ.25/11ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 46 หน้า ; 4.5 x 50.5 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา มีฉลากไม้ชื่อชุด : มัดที่ 12 (123-137) ผูก 11หัวเรื่อง : ธรรมบท --เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
เลขทะเบียน : นพ.บ.45/5ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 44 หน้า ; 4.4 x 54.5 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 27 (267-281) ผูก 4หัวเรื่อง : ธรรมบท --เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
นายจารึก วิไลแก้ว ผู้อำนวยการสำนักศิลปากรที่ ๑๒ นครราชสีมา พร้อมด้วยนายอำเภอโนนสูง เจ้าพนักงานที่ดิน ร่วมตรวจสอบผลกระทบโบราณสถานปรางค์พลสงคราม ทีเกิดจากการดำเนินโครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากตามแนวทางประชารัฐงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ในวันที่ ๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ณ โบราณสถานปรางค์พลสงคราม ตำบลสงคราม อำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา
ชื่อผู้แต่ง ตรี อมาตยกุล
ชื่อเรื่อง นำเที่ยวเมืองสุโขทัย
ครั้งที่พิมพ์ -
สถานที่พิมพ์ พระนคร
สำนักพิมพ์ ห้างหุ้นส่วนจำกัด เกษมสุวรรณ
ปีที่พิมพ์ ๒๔๙๖
จำนวนหน้า ๑๐๖ หน้า
หมายเหตุ พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงาน พระราชทานเพลิงศพ หลวงวิญญูประเทศ(พอน อยู่สุข)
เรื่อง นำเที่ยวเมืองสุโขทัยนี้ นายตรี อมาตยกุล หัวหน้ากองวรรณคดีและประวัติศาสตร์ ได้เขียนขึ้นเพื่อ พ.ศ. ๒๔๙๖ และกระทรวงวัฒนธรรมได้พิมพ์แจกเป็นครั้งแรก ในการเปิดตึกกระทรวงวัฒนธรรมใหม่ ที่สนามเสือป่า เมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๙๗ การพิมพ์ครั้งนี้ ได้จัดพิมพ์ตามฉบับเดิมที่นายตรี อมาตยกุลได้เขียนขึ้นไว้ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๙๖ โดยมิได้แก้ไขเพิ่มเติม
เรื่องที่ 370 พระคัมภีร์ใบลานนี้ ได้มาจากวัดตะปอน อ.ขลุง จ.จันทบุรี เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2532 เป็นคัมภีร์อักษรขอมทั้งผูก ชื่อเรื่องแปลเป็นภาษาบาลี-ไทย ตัวอักษรหนังสือเป็นเส้นจาร ฉบับล่องชาด ไม่มีไม้ประกับ มีทั้งหมด 1 ผูก เนื้อหาเกี่ยวกับบาฬีไวยากรณ์เบื้องต้น เป็นตำราศึกษาบาลี เรื่องที่ 371 พระคัมภีร์ใบลานนี้ ได้มาจากวัดตะปอน อ.ขลุง จ.จันทบุรี เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2532 เป็นคัมภีร์อักษรขอมทั้งผูก ชื่อเรื่องแปลเป็นภาษาบาลี-ไทย ตัวอักษรหนังสือเป็นเส้นจาร ฉบับทองทึบ-ล่องชาด ไม่มีไม้ประกับ มีทั้งหมด 4 ผูก หอสมุดแห่งชาติฯมีผูก 1,3,6,20 เนื้อหาเกี่ยวกับพระธรรมเทศนา เรื่องพระอภิธัมมสังคิณี ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในพระไตรปิฎกเลขทะเบียน จบ.บ.370/1 จบ.บ.371/1,3,6,20
การประชุมสำนักศิลปากรที่ ๑๒ นครราชสีมาประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ครั้งที่ ๗/๒๕๕๗ (สัญจร) จังหวัดนครราชสีมาวันพุธที่ ๒๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ณ ห้องประชุมหอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ ร.๙ นครราชสีมา
นริศรานุวัดติวงศ์, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้าฯ กรมพระยา และ ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. สาส์นสมเด็จ (ภาค 4). พระนคร : กรมศิลปากร, 2493.
หนังสือเรื่องสาส์นสมเด็จ ภาค 4 นี้ เป็นลายพระหัตถ์สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัดติวงศ์ กับสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงมีโต้ตอบกันในบั้นปลายแห่งพระชนมชีพเมื่อทรงวางจากภาระทางราชการการเมือง และทรงพักผ่อนอย่างเงียบ ๆ พระปรีชาสามารถของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอทั้งสองพระองค์นี้ เป็นที่รู้กันอยู่ทั่วไปในหมู่นักศึกษา โบราณคดี ศิลปและวรรณคดี และการปกครอง สาส์นสมเด็จนี้มีอยู่มากมายด้วยกัน ภาคนี้เป็น ภาค 4
ชื่อเรื่อง : ไทย
ชื่อผู้แต่ง : คลิฟทัน ดอดด์, วิลเลี่ยม
ปีที่พิมพ์ : 2503
สถานที่พิมพ์ : ม.ป.ท.
สำนักพิมพ์ : ม.ป.พ.
จำนวนหน้า : 234 หน้า
สาระสังเขป : หนังสือเรื่อง ไทย เขียนโดยวิลเลี่ยม คลิฟทัน ดอดด์ หมอที่เข้ามาสอนศาสนาและอาศัยอยู่ในเมืองไทยนานถึง 32 ปี มีเนื้อหากล่าวถึงชนชาติไทยในถิ่นต่าง ๆ ซึ่งได้ค้นคว้าหาข้อมูลจากประสบการณ์การเดินทางสำรวจด้วยตนเอง เริ่มจากภาคเหนือของไทยเข้าไปในประเทศพม่า ลาว เวียดนาม ไปจนถึงมณฑลยูนาน กวางสี และกวางตุ้งในประเทศจีน มีข้อสันนิษฐานว่าคนไทยแต่เดิมนั้นมีที่มาหลากหลายเชื้อสายเช่น มีเชื้อสายมองโกล ลาว ยูนาน โดยพิจารณาจากความคล้ายคลึงกันทางด้านภาษา และขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมประเพณี