ค้นหา

รายการที่พบทั้งหมด 40,821 รายการ

ชื่อผู้แต่ง         มนตรี   ตราโมท                      ชื่อเรื่อง           การละเล่นของไทย ครั้งที่พิมพ์       พิมพ์ครั้งที่ ๒ สถานที่พิมพ์     สมุทรปราการ สำนักพิมพ์       ขนิษฐ์การพิมพ์    ปีที่พิมพ์          ๒๕๑๘ จำนวนหน้า      ๘๖  หน้า หมายเหตุ         พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายนพ บุณยเกียรติ                    หนังสือการละเล่นของไทย กล่าวถึงการละเล่นของคนไทยในอดีต พร้อมทั้งบอกประวัติความเป็นมาและวิธีการละเล่นแต่ละประเภทไว้อย่างละเอียด เช่น การละเล่นละครชาตรี  การละเล่นหุ่น เสภาทรงเครื่อง ลำตัด และหนังใหญ่ เป็นต้น


เรื่องที่ 331 เนื้อหาเกี่ยวกับพิธีกรรมทางศาสนาพุทธ เรื่องการทำสังคายนาครั้งแรก คือการประชุมตรวจชำระสอบทานและจัดหมวดหมู่คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า วางลงเป็นแบบแผนอันหนึ่งอันเดียวกัน ตามศัพท์ "สังคายนา" หมายถึง สวดพร้อมกัน หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “สังคีติ” แปลว่า สวดพร้อมกัน มาจากคำว่า คายนา หรือ คีติ แปลว่า การสวด สํ แปลว่า พร้อมกัน คำนี้มีมูลเหตุมาจากวิธีการสังคายนาพระธรรมวินัย ที่เรียกว่าวิธีการร้อยกรองหรือรวบรวมพระธรรมวินัย หรือประมวลคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มีวิธีการคือนำเอาคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าที่ทรงจำไว้มาแสดงในที่ประชุมพระสงฆ์ จากนั้นให้มีการซักถามกัน จนกระทั่งที่ประชุมลงมติว่าเป็นอย่างนั้นแน่นอน เมื่อได้มติร่วมกันแล้วในเรื่องใด ก็ให้สวดขึ้นพร้อมกัน การสวดพร้อมกันแสดงถึงการลงมติร่วมกันเป็นเอกฉันท์ และเป็นการทรงจำกันไว้เป็นแบบแผนต่อไป  พระใบฎีกาสม , พระวิน , นายเพ่ง , นางสม, นายเหลือ , เเม่ห่วย เป็นผู้สร้างเรื่องที่ 332 เนื้อหาเกี่ยวกับการทำสังคายนาครั้งที่ 2  เจ้าอธิการเยื่อ เป็นผู้สร้างเรื่องที่ 333 เนื้อหาเกี่ยวกับการทำสังคายนาครั้งที่ 3เลขทะเบียน จบ.บ.331/1:1ก,2:2ก-2ข,3:3ก   จบ.บ.332/2 จบ.บ.333/5


ชื่อเรื่อง : พระธรรมเทศนา พระราชพงศาวดารสังเขป ผู้แต่ง : มหาสมณเจ้า, สมเด็จพระมหา ปีที่พิมพ์ : 2515 สถานที่พิมพ์ : พระนคร สำนักพิมพ์ : วัฒนพาณิช


ชื่อเรื่อง : วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดพิจิตร ผู้แต่ง : คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุในคณะกรรมการอำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ปีที่พิมพ์ : 2543 สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์ : กระทรวงมหาดไทย : กระทรวงศึกษาธิการ และกรมศิลปากร


ชื่อเรื่อง : ซาไกเจ้าแห่งขุนเขา และสมุนไพร   ผู้แต่ง : ไพบูลย์ ดวงจันทร์   ปีที่พิมพ์ :    สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ   สำนักพิมพ์ : อนงค์ศิลป์          หนังสือเล่มนี้เป็นเชิงกึ่งวิชาการ กึ่งเรื่องเล่า โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อที่จะแนะนำให้รู้จักกับเพื่อนมนุษย์ ที่อาศัยอยู่ในผืนแผ่นดินไทย ทราบถึงชาวเงาะกลุ่มต่างๆ ถิ่นที่อยู่อาศัย การแต่งกาย ลักษณะสังคม ภาษา ความเชื่อ ประเพณี ฯลฯ



รวบรวมภาพ พระราชกรณียกิจ ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนารถบพิตร ในขณะครองราชย์ ดำรงพระอิสริยยศเป็น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชฯ บรมนารถบพิตร รัชกาลที่ 9 ประจำปี พ.ศ. 2551                ผู้แต่ง                             สำนักงานเสิมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ทำเนียบรัฐบาล               โรงพิมพ์                          ด่านสุทธาการพิมพ์                ปีที่พิมพ์                         2551                 ภาษา                             ไทย - อังกฤษ                 รูปแบบ                           pdf                 เลขทะเบียน                    หช.จบ. 154 จบ (ร) (200)





***บรรณานุกรม***     ผดุงถิ่นยุคข่าวเศรษฐกิจ     ปีที่ 16(7)     ฉบับที่ 656(250)    วันที่ 16-30 มิถุนายน 2534




เป็นผู้ให้กำเนิดงานพิพิธภัณฑ์ในส่วนภูมิภาค          พระยาโบราณราชธานินทร์เป็นผู้รวบรวม สงวนรักษา อนุรักษ์ศิลปวัตถุ โบราณวัตถุ ซึ่งได้จากการสำรวจขุดค้นในพื้นที่เมืองอยุธยานำมาจัดหมวดหมู่ จัดแสดง และก่อตั้งเป็นอยุธยาพิพิธภัณฑ์ ซึ่งมีความทันสมัยสอดคล้องกับหลักวิชาพิพิธภัณฑ์สากล อยุธยาพิพิธภัณฑ์ เป็นพิพิธภัณฑสถานส่วนภูมิภาคแห่งแรกของไทย ต่อมาพัฒนาเป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม        การรวบรวมโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุของพระยาโบราณราชธานินทร์ในอยุธยาพิพิธภัณฑสถานมีคุณูปการต่อการศึกษาด้านประวัติศาสตร์ศิลปะ โบราณคดี และพิพิธภัณฑสถานของไทย เพราะเป็นโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุชิ้นเยี่ยมและเป็นตัวแทนของยุคสมัย เช่น เศียรพระพุทธรูปวัดธรรมิกราช และพระพุทธรูปลีลาที่มีจารึกเก่าที่สุดสมัยอยุธยา เป็นต้น เศียรพระพุทธรูปวัดธรรมิกราช ปัจจุบันจัดแสดงที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติเจ้าสามพระยา


+++สรีดภงส์+++ สรีดภงส์หรือทำนบพระร่วง เขื่อนดินขนาดใหญ่ของเมืองสุโขทัย ถือเป็นหัวใจของความอุดมสมบูรณ์ภายในเมืองสุโขทัย โดยเขื่อนดินแห่งนี้ตั้งอยู่นอกกำแพงเมืองสุโขทัยทางด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ ห่างไปประมาณ ๒.๓ กิโลเมตร บริเวณส่วนหนึ่งของแนวเทือกเขาประทักษ์อันเป็นแหล่งที่อุดมด้วยพืชพรรณไม้ต่าง ๆ รวมทั้งพืชสมุนไพร และเป็นพื้นที่เปรียบเสมือนหลังคาที่สามารถรองรับน้ำฝนได้อีกด้วย . จากความชาญฉลาดของคนสุโขทัยในอดีตจึงรู้จักสร้างคันดินกั้นน้ำขนาดใหญ่ในระหว่างหุบเขากิ่วอ้ายมาถึงเขาพระบาทใหญ่อันเป็นที่รวมของน้ำจากโซกต่าง ๆ ตามบริเวณเขาถึง ๑๗ โซก เป็นคันดินสำหรับผันแปรทิศทางของน้ำ ที่เชื่อกันมาแต่เดิมว่าคือ สรีดภงส์ ที่กล่าวไว้ในศิลาจารึกที่ ๑ น้ำจาก สรีดภงส์จะถูกระบายไปตามคลองเสาหอ เพื่อเข้าไปใช้อุปโภคบริโภคภายในเมือง โดยระบายเข้าสู่เมืองตรงมุมตะวันตกเฉียงใต้ . สรีดภงส์ในปัจจุบันได้รับการปรับปรุงขึ้นใหม่ โดยกรมชลประทานร่วมกับกรมศิลปากร ให้มีความสูงและแข็งแรงกว่าเดิมสำหรับใช้กักเก็บน้ำ มีความสูงประมาณ ๑๐ เมตร ยาวประมาณ ๔๐๐ เมตร สามารถกักเก็บน้ำได้ถึง ๔๐๐,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตร


สำนักศิลปากรที่ ๑๐ นครราชสีมา จัดนิทรรศการให้ความรู้กับผู้ร่วมงานเทศกาลเที่ยวพิมาย ๒๕๖๓ เข้าชมระหว่างวันที่ ๑๑-๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ ณ บริเวณหน้าอุทยานประวัติศาสตร์พิมาย จังหวัดนครราชสีมา



Messenger