ค้นหา

รายการที่พบทั้งหมด 40,815 รายการ

ชื่อเรื่อง : บทละครเรื่อง อิเหนา เล่ม 1 ชื่อผู้แต่ง : พุทธเลิศหล้านภาลัย, พระบาทสมเด็จพระ ปีที่พิมพ์ : 2510 สถานที่พิมพ์ : พระนคร สำนักพิมพ์ : องค์การค้าของคุรุสภา จำนวนหน้า : 318 หน้า สาระสังเขป : บทละครเรื่องอิเหนานี้ วรรณคดีสโมสรได้ตัดสินว่าเป็นยอดของบทละครรำเมื่อปีมะโรง พ.ศ. 2459 เพราะแต่งดีพร้อมทั้งความทั้งกลอนทั้งกระบวนที่จะเล่นละคร นอกจากนี้ยังมีประโยชน์ในการศึกษาประเพณีไทยแต่โบราณขนบธรรมเนียมบ้านเมือง และอัธยาศัยคนในสมัยนั้นอีกด้วย บทละครเรื่อง อิเหนา เล่ม 1 เริ่มเรื่องกล่าวถึงกษัตริย์วงศ์เทวา 4 พระนคร อิเหนาหลงนางจินตะหรา จนถึงตอนช่างเขียนวาดรูปนางบุษบา



เรื่องที่ 324 เนื้อหาเกี่ยวกับมหาวงศ์ เป็นวรรณกรรมประวัติศาสตร์ บันทึกเหตุการณ์ในยุคต้นของลังกาทวีป หรือศรีลังกา เเต่งโดยพระมหานามะเรื่องที่ 325 เนื้อหาเกี่ยวกับพระธรรมธรรมเทศนา สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ เรื่องที่ 326 เนื้อหาเกี่ยวกับพระธรรมเทศนา เรื่องที่ 327 เนื้อหาเกี่ยวกับบทสวด นายเหลียง,นางออบ เป็นผู้สร้าง เมื่่อ พ.ศ.2464 (ร.6)เรื่องที่ 328 เนื้อหาเกี่ยวกับพระธรรมเทศนา เรื่องที่ 329 เนื้อหาเกี่ยวกับพระไตรปิฎก เรื่องที่ 330 เนื้อหาเกี่ยวกับหลักธรรม เรื่อง โพชฌงค์ คือธรรมที่เป็นองค์แห่งการตรัสรู้ หรือองค์ของผู้ตรัสรู้ มีเจ็ดอย่างคือ 1.สติสัมโพชฌงค์2. ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์ 3.วิริยสัมโพชฌงค์ 4. ปีติสัมโพชฌงค์ 5. ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ 6. สมาธิสัมโพชฌงค์ 7. อุเบกขาสัมโพชฌงค์เลขทะเบียน จบ.บ.324/6 จบ.บ.325/1 จบ.326/1 จบ.บ.327/1-2 จบ.บ.328/1 จบ.บ.329/1 จบ.บ.330/1


ชื่อเรื่อง : พงศาวดารเมืองนครเชียงใหม่ เมืองนครลำปาง เมืองลำพูนไชย ผู้แต่ง : มหาอำมาตยาธิบดี, พระยา ปีที่พิมพ์ : 2505 สถานที่พิมพ์ : พระนคร สำนักพิมพ์ : พระจันทร์


ชื่อเรื่อง : วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดน่าน ผู้แต่ง : คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุในคณะกรรมการอำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ปีที่พิมพ์ : 2544 สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์ : กระทรวงมหาดไทย : กระทรวงศึกษาธิการ และกรมศิลปากร


ชื่อเรื่อง : ชุมนุมพระนิพนธ์   ชื่อผู้แต่ง : กรมหมื่นพิทยาลาภพฤฒิยากร , พระวรวงศ์เธอ   ปีที่พิมพ์ : ๒๕๑๗   สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ   สำนักพิมพ์ : พระจันทร์   หมายเหตุ :  ให้พิมพ์พระราชทานในงานพระศพ พระวรวงศ์เธอกรมหมื่นพิทยาลาภพฤฒิยากร ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาส               วันอาทิตย์ที่ ๑๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๑๗                     หนังสือชุมนุมพระนิพนธ์ ของ พระวรวงศ์เธอกรมหมื่นพิทลาภพฤฒิยากร ซึ่งเป็นพระนิพนธ์ต่างเรื่อง ทรงอุทิศพระราชกุศลแห่งวิทยาทานแด่พระวรวงศ์เธอกรมหมื่นพิทยาลาภพฤฒิยากร เพื่อเป็นอนุสรณ์ และเป็นปัจจัยเผยแพร่พระเกียรติคุณของพระองค์ จะมีรายละเอียด อาทิ พระพุทธศานา สถาบันพระมหากษัตริย์ และประเพณีเกี่ยวข้อง นาฎวรรณคดี และชีวประวัติ



รวบรวมภาพ พระราชกรณียกิจ ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนารถบพิตร ในขณะครองราชย์ ดำรงพระอิสริยยศเป็น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชฯ บรมนารถบพิตร รัชกาลที่ 9 ประจำปี พ.ศ. 2549 - 2550               ผู้แต่ง                             สำนักงานเสิมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ทำเนียบรัฐบาล               โรงพิมพ์                         ด่านสุทธาการพิมพ์              ปีที่พิมพ์                         2550               ภาษา                             ไทย - อังกฤษ               รูปแบบ                           pdf               เลขทะเบียน                    หช.จบ. 153 จบ (ร) (199)


พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว. กฎมนเทียรบาลว่าด้วยข้าราชการในพระราชสำนัก. พระนคร: โรงพิมพ์มหาดไทย, 2503.           พิมพ์เป็นมิตรพลีในงานพระราชทานเพลิงศพหลวงสรรสารกิจ (เคล้า  คชนันท์) วันที่ 21 มีนาคม 2503 กฎมนเทียรบาล ฉบับนี้ ประกาศใช้เป็นกฎหมาย เมื่อพุทธ ศักราช 2457 และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงร่างขึ้นด้วยลายพระหัตถ์ของพระองค์เอง เพื่อใช้สำหรับข้าราชการในพระราชสำนัก โดยมีพระราชประสงค์จะกวดขันความประพฤติของข้าราชการในพระราชสำนักให้ประพฤติปฏิบัติในสิ่งที่ดีงาม แบ่งเป็น 9 หมวด หมวดที่ 1 ว่าด้วยนามและลักษณะใช้กฎมนเทียรบาลนี้ หมวดที่ 2 ว่าด้วยผู้ที่จะต้องปฏิบัติตามกฎนี้ หมวดที่ 3 อธิบายคำในกฎนี้ หมวดที่ 4 ว่าด้วยการจดทะเบียนครอบครัวและเคหะสถาน หมวดที่ 5 ว่าด้วยหน้าที่เจ้าพนักงานทะเบียน หมวดที่ 6 ว่าด้วยการขออนุญาตให้มีครอบครัวและเคหะสถาน หมวดที่ 7 ว่าด้วยคนหม้าย และคนไม่มีเคหะสถาน หมวดที่ 8 อธิบายด้วยชั้นความผิดและการลงทัณฑ์ หมวดที่ 9 ว่าด้วยการกำหนดโทษสำหรับความผิด340.09593ม113กค


***บรรณานุกรม***     ผดุงถิ่นยุคข่าวเศรษฐกิจ     ปีที่ 16(7)      ฉบับที่ 658(252)    วันที่ 16-31 กรกฎาคม 2534


การวางรากฐานการศึกษาโบราณคดีสมัยใหม่           พระยาโบราณราชธานินทร์เป็นผู้บุกเบิกวิทยาการทั้งองค์ความรู้ เทคนิค วิธีการสมัยใหม่ด้านโบราณคดี ได้แก่         ๑.๑ การสำรวจและขุดค้นพระราชวังโบราณและวัดร้างในอยุธยาโดยการใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีมาพิจารณาศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์เพื่อเข้าใจเรื่องราวและภูมิสถานของอยุธยา ซึ่งนับเป็นการสำรวจและขุดค้นทางโบราณคดีอย่างเป็นระบบครั้งแรกในพื้นที่เมืองอยุธยา อีกทั้งยังมีการสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรมในอดีตและปรับปรุงภูมิทัศน์ ซึ่งใช้เป็นแนวทางการอนุรักษ์โบราณสถานในอยุธยาในเวลาต่อมา       ๑.๒ การจัดทำแผนที่สมัยใหม่ในงานโบราณคดี พระยาโบราณราชธานินทร์ได้ทำการสำรวจ และจัดทำแผนที่ เพื่อกำหนดตำแหน่งภูมิสถานกรุงศรีอยุธยา นับเป็นแผนที่ฉบับแรกอันเป็นผลมาจากการศึกษาประวัติศาสตร์และโบราณคดีอย่างเป็นระบบ ซึ่งเป็นฐานข้อมูลสำคัญด้านอยุธยาศึกษา อีกทั้งยังเป็นข้อมูลสำคัญที่กรมศิลปากรใช้ในการกำหนดขอบเขตโบราณสถาน จนนำไปสู่การขึ้นทะเบียนโบราณสถานเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา และจัดตั้งนครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา        ๑.๓ การสงวนรักษาพื้นที่เมืองอยุธยาให้เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินตามพระบรมราชโองการของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยการบริหารจัดการพื้นที่และกำหนดเขตเพื่อป้องกันการบุกรุกทำลาย ส่งผลให้หลักฐานทางโบราณคดีและโบราณสถานยังคงปรากฎร่องรอยหลักฐานอยู่จนถึงในปัจจุบัน เป็นแหล่งเรียนรู้ของสาธารณชน และเข้าหลักเกณฑ์พื้นที่ที่ยังคงหลงเหลือร่องรอยเป็นของแท้ดั้งเดิมมีเอกลักษณ์โดดเด่นและทรงคุณค่าของอารยธรรมเมืองมรดกโลกขององค์การยูเนสโก





ชื่อเรื่อง                           ฌาปนกิจฺจานิสํสกถา (อานิสงส์เผาศพ)สพ.บ.                             175/1คประเภทวัสดุมีเดีย                    คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่                               พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ                           28 หน้า กว้าง 4.7 ซ.ม. ยาว 54.9 ซ.ม. หัวเรื่อง                                 อานิสงส์เผาศพบทคัดย่อ/บันทึกเป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอม เส้นจาร ภาษาบาลี-ไทย ฉบับลานดิบ-ล่องชาด ได้รับบริจาคมาจากวัดพยัคฆาราม อ.ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี


ชื่อเรื่อง                                เทศนาอุปคุตมารพันธ์ (เทศนาอุปคุตมารพันธ์)สพ.บ.                                  122/1ประเภทวัสดุมีเดีย                    คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่                               พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ                           60 หน้า กว้าง 5 ซ.ม. ยาว 5ุ6 ซ.ม. หัวเรื่อง                                 ธรรมเทศนา                                           พระอุปคุต                                           พระอรหันต์                                           พุทธสาวก  บทคัดย่อ/บันทึก เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอม  เส้นจาร ฉบับทองทึบ  ได้รับบริจาคมาจากวัดประสพสุข ต.ทับตีเหล็ก อ.เมืองฯ จ.สุพรรณบุรี  


Messenger