ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 40,814 รายการ
เลขทะเบียน : นพ.บ.44/1ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 42 หน้า ; 4 x 55 ซ.ม. : ทองทึบ ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 26 (254-266) ผูก 1หัวเรื่อง : มหานิปาตวณฺณนา --เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
ชื่อผู้แต่ง : จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว , พระบาทสมเด็จพระชื่อเรื่อง : พระบรมราโชวาทในรัชกาลที่ ๕ครั้งที่พิมพ์ : -สถานที่พิมพ์ : พระนครสำนักพิมพ์ : โรงพิมพ์อักษรศาสน์ปีที่พิมพ์ : ๒๕๐๙จำนวนหน้า : ๖๘ หน้าหมายเหตุ : พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพ คุณพ่อศุข สงวนน้อย ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริยาราม วันที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๐๙ พระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ได้จัดพิมพ์ในเล่มนี้ เป็นพระบรมราโชวาทซึ่งมีไปพระราชทานพระบรมโอรสาธิราช และอีกภาคหนึ่งมีพระราชทานพระเจ้าลูกยาเธอ เนื่องในโอกาสเสด็จออกไปศึกษาวิชา ณ ต่างประเทศ เพื่อพุทธศักราช ๒๔๒๘ แต่เนื้อความล้วนเป็นคติสอนใจที่เป็นผลได้แก่ผู้อ่านทั่วไป
ชื่อเรื่อง : ละครพูดเรื่องท่านรอง คดีสำคัญ
ชื่อผู้แต่ง : มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ
ปีที่พิมพ์ : 2512
สถานที่พิมพ์ : พระนคร
สำนักพิมพ์ : องค์การค้าของคุรุสภา
จำนวนหน้า : 232
สาระสังเขป : พระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงใช้นามแฝงว่า "ศรีอยุธยา" เนื้อหาประกอบด้วย บทละคร 2 เรื่อง ได้แก่เรื่อง ท่านรอง เป็นบทละครพูดเกี่ยวกับทหารบก แปลงจากละครพูดภาษาอังกฤษชื่อ เสคันด์ อิน คอมมานด์ มีลำดับฉาก ๔ องก์ และเรื่อง คดีสำคัญ เป็นละครพูดองก์เดียว แปลงจากภาษาอังกฤษของ ยอร์ช คูร์ตะลีน
ดร. ประภัสสร์ ชูวิเชียร.วัดร้างบางบอน? (วิหารหลวงพ่อขาว) วัดนิรนามอันศักดิ์สิทธิ์.ศิลปวัฒนธรรม.(34):12;ตุลาคม 2556
วิหารหลวงพ่อขาวในปัจจุบัน ตั้งอยู่ริมถนนเอกชัยในเขตบางบอน เลยจากโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ (ที่มีชื่อเดิมอันสวยงามว่า สิงหราชพิทยาคม) มาไม่ไกล เมื่อข้ามสะพานข้ามคลองวัดสิงห์มาแล้ว ซึ่งหากไม่สังเกตป้ายบอกขนาดเล็กๆ ที่ถูกต้นไม้อันร่มรื่นทอดเงาปกคลุมไว้ก็อาจผ่านเลยไปได้โดยง่ายสำหรับคนไม่คุ้นเคย วิหารหันหน้าไปทางทิศตะวันออกลงสู่คลองคอหลักหรือคลองวัดสิงห์ ภายในเหลือเพียงองค์หลวงพ่อขาวเป็นประธานนั้น ถูกต่อเติมด้วยอาคารโถงสมัยใหม่ ที่เดิมเป็นหลังคาสังกะสีสูง ด้านหลังวิหารเคยมีต้นโพธิ์ใหญ่แต่หักโค่นเสียแล้ว ซึ่งด้านข้างตั้งศาลเจ้าแม่สีทองเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในบริเวณนี้ด้วย ส่วนรอบข้างก็เป็นชุมชนและอาคารพาณิชย์ มีเพียงฝั่งทิศใต้ที่เปิดออกหาถนนเอกชัย
“น้าแต๋น” ผู้ดูแลสถานที่วิหารหลวงพ่อขาวซึ่งเข้ามาในพื้นที่ตั้งแต่ราว พ.ศ. ๒๕๑๖ ได้ความอย่างคร่าวๆ ว่าไม่ทราบประวัติวัดนี้เพราะตนเป็นคนจากข้างนอกเข้ามาอยู่ ประวัติข้อมูลส่วนใหญ่ต้องสืบเอาจากกรมการศาสนา (ย้ำว่าต้องขออนุญาตจากมหาเถรสมาคมด้วย?) แต่พอจำได้ว่าทางกรมการศาสนาเรียกวัดนี้ว่า “วัดร้างบางบอน” แต่ก็คงไม่ใช่ชื่อแท้จริงของวัดแต่เดิม เมื่อก่อนบริเวณนี้เป็นป่าชายเลน เหลือเพียงหลวงพ่อขาวองค์เดียวประดิษฐานบนพื้น ไม่มีวิหารไม่มีหลังคาใดๆ ต่อมาผู้บริหารร้านหนังสือคลังวิทยา (วังบูรพา) ได้มาขอเช่าพื้นที่ดูแลรักษาวิหารหลวงพ่อขาว
ชื่อเรื่อง : ปัญญาสชาดก เล่ม ๑
ผู้แต่ง : คณะสงฆ์หนเหนือ
ปีที่พิมพ์ : 2552
สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ
สำนักพิมพ์ : อาทรการพิมพ์
ชื่อเรื่อง : วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดเชียงราย
ผู้แต่ง : คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุในคณะกรรมการอำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ปีที่พิมพ์ : 2544
สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ
สำนักพิมพ์ : กระทรวงมหาดไทย : กระทรวงศึกษาธิการ และกรมศิลปากร
ชื่อเรื่อง : เฉลิมพระเกียรติ์กษัตร์ คำฉัน
ผู้แต่ง : นราธิปประพันธ์พงศ์
ปีที่พิมพ์ : ๒๕๓๒
สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ
สำนักพิมพ์ : จงเจริญการพิมพ์
หมายเหตุ : พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นางประไพ ปัทมดิลก เป็นกรณีพิเศษ ณ ฌาปนสถานกองทัพอากาศ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร วันเสาร์ที่ ๒๕ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๓๒
เรื่องเฉลิมเกียรติ์กษัตร์ คำฉัน นี้ ดำเนินเรื่งอราวตามประวัติศาสตร์ไทย ครั้งที่พระเจ้าตะเบงชะเวตี หรือ พระเจ้าหงสาวดี ลิ้นดำ ยกกองทัพใหญ่มาตีกรุงศรีฯ ในแผ่นดินสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ สมเด็จพระศรีสุริโยทัย พระอัครมเหสี ได้ทรงปลอมพระองค์เป็นชาย ทางช้างโดยเสด็จสมเด็จพระมหาจักรพรรดิออกรบด้วยได้ทรงตัดสินพระทัยไสช้าง เข้ารบกับข้าศึกเพื่อป้องกันพระสวามี จนถูกข้าศึกฟันจนสิ้นพระชนม์อยู่บนคอช้าง เหตุการณ์ในครั้งนั้นแสดงให้เห็นถึง ความกล้าหาญ เด็ดเดี่ยว และความเสัยสละอย่างยิ่งของสมเด็จพระสุริโยทัย ผวึ่งสมควรเฉลิมพระเกียรติเป็นวีรสตรีไทยพระองค์หนึ่ง
***บรรณานุกรม***
ผดุงถิ่นยุคข่าวเศรษฐกิจ
ปีที่ 16(7)
ฉบับที่ 662(256)
วันที่ 16-30 กันยายน 2534
สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือที่ปวงชนชาวไทยขนานพระนามเป็นสามัญว่า "สมเด็จย่า" และที่บรรดาชาวไทยภูเขาถวายพระสมญานามว่า "แม่ฟ้าหลวง"
การตกแต่งสังคโลกให้สวยงาม
นอกจากการตกแต่งสังคโลกให้สวยงามด้วยน้ำยาเคลือบที่หลากหลายแล้ว ยังมีวิธีการตกแต่ง
สังคโลกให้เกิดเป็นลวดลายต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นลายดอกไม้ ลายพันธุ์พฤกษา ฯลฯ โดยจะทำหลังจากที่ขึ้นรูปภาชนะเรียบร้อยแล้วและตากจนแห้งหมาด ๆ ก่อนจะนำไปเผาหรือเคลือบ สามารถแบ่งออกได้เป็น ๕ วิธี ได้แก่ การกดประทับ (Impressed of stamped patterns) เป็นการใช้เครื่องมือกดลงบนภาชนะให้เกิดลวดลายต่าง ๆ คล้ายกับการใช้ตราประทับ มักพบในการตกแต่งไหล่ภาชนะประเภทไห
การขูดขีด (Incised patterns or Engraving) ช่างจะใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์ปลายแหลมขีดลงบนผิวภาชนะเป็นลวดลายเหมือนกับการวาดรูป นิยมขูดขีดเป็นลายเรขาคณิตและลายพันธุ์พฤกษา
การขุด (Excised patterns) ทำโดยใช้เครื่องมือหน้ากว้างเซาะหรือขูดเนื้อดินออกให้เกิดร่อง เช่น การทำร่องในแนวตั้ง การขุดร่องเป็นลายดอกไม้ที่ก้นภาชนะด้านในการเขียนสี นิยมใช้สีน้ำตาลเข้มถึงสีดำเขียนเป็นลวดลายพันธุ์พฤกษา ลายดอกไม้ และลายสัตว์ เป็นต้น การเขียนสีเป็นการตกแต่งที่แตกต่างไปจากวิธีการอื่น เพราะจะต้องทำหลังจากภาชนะแห้งสนิทแล้วเท่านั้น และต้องนำไปเผารอบหนึ่งก่อนจะนำภาชนะนั้นไปเคลือบและเผาอีกรอบ ขณะที่ภาชนะที่ตกแต่งด้วยวิธีอื่นเมื่อแห้งสนิทแล้วสามารถนำไปเคลือบได้ทันทีการปั้นแปะ (Applied decoration or Appique) คือการปั้นดินมาแปะลงบนผิวภาชนะ โดยมากมักติดลงบนไหล่ของภาชนะจำพวกไห เช่น ลายอุ
ชื่อเรื่อง พาหุฎีกา (กตฺวานสุตฺตวณฺณนา เผด็จ)สพ.บ. 170/5-5กประเภทวัสดุมีเดีย คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่ พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ 38 หน้า กว้าง 5 ซ.ม. ยาว 55 ซ.ม. หัวเรื่อง พุทธศาสนา ธรรมเทศนาบทคัดย่อ/บันทึกเป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอม เส้นจาร ฉบับล่องชาด ภาษาบาลี-ไทย ได้รับบริจาคมาจากวัดพยัคฆาราม ต.ศรีประจันต์ อ.ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี
ชื่อเรื่อง เทศนาสุนันทราชชาดก (สุนันทราชชาดก)สพ.บ. 120/1กประเภทวัสดุมีเดีย คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่ พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ 30 หน้า กว้าง 5 ซ.ม. ยาว 5ุ6 ซ.ม. หัวเรื่อง นิทานคติธรรมทางพุทธศาสนา ชาดก
บทคัดย่อ/บันทึก
เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอม เส้นจาร ฉบับล่องชาด ได้รับบริจาคมาจากวัดประสพสุข ต.ทับตีเหล็ก อ.เมืองฯ จ.สุพรรณบุรี