ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 40,814 รายการ
ชื่อเรื่อง ประชุมพงศาวดาร เล่ม 34 (ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 61 (ต่อ) – 62) พงศาวดารเมืองเงินยาง (ต่อ) เชียงแสน ว่าด้วยเรื่องทูตฝรั่งสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ผู้แต่ง -ประเภทวัสดุ/มีเดีย หนังสือหายากหมวดหมู่ ประวัติศาสตร์ทวีปเอเชียเลขหมู่ 959.3 ป247 ล.34สถานที่พิมพ์ พระนครสำนักพิมพ์ โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าวปีที่พิมพ์ 2512ลักษณะวัสดุ 332 หน้าหัวเรื่อง ฝรั่งเศษ -- ภูมิประเทศและการท่องเที่ยวภาษา ไทยบทคัดย่อ/บันทึกเนื้อหาภายในประกอบด้วย ส่วนที่ 1 ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 61 (ต่อ) ว่าด้วยเรื่องพงศาวดารเมืองเงินยางเชียงแสน (ต่อ) ในส่วนที่ 2 ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 62 ว่าด้วยเรื่องทูตฝรั่ง สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ในรัชกาลที่ 1-3
หมวดหมู่ พุทธศาสนาภาษา บาลี/ไทยอีสานหัวเรื่อง วรรณกรรมพุทธศาสนา พุทธศาสนา—เทศนาประเภทวัสดุ/มีเดีย คัมภีร์ใบลานลักษณะวัสดุ 26 หน้า : กว้าง 4.5 ซม. ยาว 54 ซม. บทคัดย่อ
เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอม เส้นจาร ฉบับชาดทึบ ได้รับบริจาคมาจากพระอธิการเด่น ปญฺญาทีโป วัดคิรีรัตนาราม ต.ดอนคา อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี ดำเนินการอนุรักษ์เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2534
ชื่อเรื่อง : ฮีตกองของบ่าเก่า
ผู้แต่ง : พระครูอดุลสีลกิตติ์
ปีที่พิมพ์ : 2543
สถานที่พิมพ์ : เชียงใหม่
สำนักพิมพ์ : โรงพิมพ์ดาวคอมพิวกราฟิก
ฮีตกองของบ่าเก่า จัดพิมพ์ เนื่องในโอกาสที่คณะสงฆ์ คณะศิษย์ และคณะศรัทธาได้จัดพิธีพระราชทานเพลิงศพ ท่านพระครูนพบุรารักษ์ อดีตเจ้าอาวาสวัดพวกช้าง และอดีตเจ้าคณะอำเภอเมืองเชียงใหม่ ผู้เขียนอธิบายวันและเวลา อันแฝงความหมายและนัยยะทางพุทธศาสนา ที่สอดแทรกเข้ากับวัฒนธรรมของเมืองล้านนา อาทิ วันกระทำมงคล วันชนะยาม วันราหูเกตุตกของเมืองล้านนา
เลขทะเบียน : นพ.บ.12/2ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 54 หน้า ; 5.5 x 56 ซ.ม. : รักทึบ-ลานดิบ ; ไม้ประกับธรรมดา มีฉลากชื่อชุด : มัดที่ 8 (83-99) ผูก 2หัวเรื่อง : โลกนยชาตก--เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
เลขทะเบียน : นพ.บ.41/3ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 42 หน้า ; 4.5 x 59 ซ.ม. : ชาดทึบ ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 23 (234-238) ผูก 3หัวเรื่อง : แปดหมื่นสี่พันขันธ์ --เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
ชื่อผู้แต่ง : สมชาย พุ่มสอาด
ชื่อเรื่อง : คู่มือการจัดพิมพ์หนังสือ
ปีที่พิมพ์ : ๒๕๒๖
ครั้งที่พิมพ์ : -
สถานที่พิมพ์ : -
สำนักพิมพ์ : -
จำนวนหน้า : ๖๕ หน้า
หมายเหตุ : -
คู่มือการจัดพิมพ์หนังสือเล่มนี้ ได้ปรับปรุงจากหนังสือ คู่มือการจัดรูปเล่มหนังสือและการพิสูจน์อักษร ซึ่ง นายทรงวิทย์ แก้วศรี บรรณารักษ์ ๖ กองหอสมุดแห่งชาติเรียบเรียง
นางกุลทรัพย์ เกษแม่นกิจ ผู้อำนวยการกองหอสมุดแห่งชาติ ตรวจแก้ และหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร จัดพิมพ์(อัดสำเนา) ครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๒ นับว่าเป็นคู่มือสำคัญในการจัดพิมพ์หนังสือได้เป็นอย่างดี แต่ยังมีข้อควรเพิ่มเติมอีกบางประการ เช่น หลักการนับต้นฉบับ การคิดคำนวณกระดาษต่อจำนวนพิมพ์ การพิมพ์ระบบออฟเซ็ท ราคามาตรฐานในการจ้างพิมพ์ของกระทรวงการคลัง ระเบียบกรมศิลปากร เรื่องการขออนุญาตพิมพ์หนังสือ ฯลฯ ซึ่งจะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่หน้าที่เกี่ยวกับการพิมพ์หนังสือ การคำนวณราคา การสอบราคา และการประมูลราคาในการพิมพ์ กองวรรณคดีและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร จึงได้มอบให้ นายสมชาย พุ่มสอาด นักอักษรศาสตร์ ๗ กองวรรณคดีและประวัติศาสตร์ รวบรวมและเรียบเรียงในสาระสำคัญเพิ่มเติมขึ้น แล้วให้ชื่อหนังสือว่า คู่มือการจัดพิมพ์หนังสือ
นิตยสารรายสองเดือน กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม
วัตถุประสงค์ : เพื่อเผยแพร่ข้อมูลทางวิชาการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมในสาระสำคัญต่าง ๆ และ
เพื่ออนุรักษ์สืบทอดมรดกวัฒนธรรมของชาติ
นริศรานุวัดติวงศ์, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้าฯ กรมพระยา และ ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. สาส์นสมเด็จ (ภาคที่ 11). พระนคร : กรมศิลปากร, 2496.
หนังสือเรื่องสาส์นสมเด็จ ภาค 11 นี้ เป็นลายพระหัตถ์สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัดติวงศ์ กับสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงมีโต้ตอบกันในบั้นปลายแห่งพระชนมชีพเมื่อทรงว่างจากภาระทางราชการการเมือง และทรงพักผ่อนอย่างเงียบ ๆ พระปรีชาสามารถของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอทั้งสองพระองค์นี้ เป็นที่รู้กันอยู่ทั่วไปในหมู่นักศึกษา โบราณคดี ศิลปและวรรณคดี และการปกครอง สาส์นสมเด็จนี้มีอยู่มากมายด้วยกัน ภาคนี้เป็นภาค 11.
ชื่อเรื่อง : วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดอุทัยธานี
ผู้แต่ง : คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุในคณะกรรมการอำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ปีที่พิมพ์ : 2544
สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ
สำนักพิมพ์ : กระทรวงมหาดไทย : กระทรวงศึกษาธิการ และกรมศิลปากร
ชื่อเรื่อง : เทศนาเรื่องนิทานมิกาทุระ และบทละครสังคีต เรื่องวั่งตี่
ชื่อผู้แต่ง : จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ และมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ
ปีที่พิมพ์ : 2509
สถานที่พิมพ์ : พระนคร
สำนักพิมพ์ : แสงทองการพิมพ์
จำนวนหน้า : 264 หน้า
สาระสังเขป : เทศนาเรื่องนิทานมิกาทุระ พระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นเรื่องราวของพระเจ้ามิกาทุระเจ้าเมืองโตกิยนคร ที่ออกพระราชกำหนดให้ราษฎรประพฤติตนอยู่ในกรอบอย่างเคร่งครัด หากผู้ใดไม่ปฏิบัติตามจะต้องได้รับโทษ ส่วนบทละครสังคีต เรื่องวั่งตี่ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นจากเค้าโครงเรื่อง มิกาโด ของเซอร์วิลเลียม คิลเบิต เป็นบทละครเรื่องสั้นขบขัน เสียดสีความประพฤติของขุนนางที่ห่างพระเนตรพระกรรณของพระจักรพรรดิ และตอนท้ายจัดพิมพ์เรื่องปกิณกะประวัติของอุปรากร และเรื่องมิกาโด ของนางกุลทรัพย์ เกษแม่นกิจ รวมไว้ในเล่มเดียวกัน
THAI CULTURE, NEW SERIES No. 21THET MAHĀ CHĀT
BY
PHYA ANUMAN RAJADHON
PUBLISHED BY
THE FINE ARTS DEPARTMENT
BANGKOK, THAILAND
B.E. 2558
บรรณานุกรม
หนังสือหายาก
ชื่อหนังสือ จดหมายเหตุสมัยฝรั่งเศสยึดเมืองจันทบุรี
ประติมากรรมดินเผารูปหงส์พบจากการขุดแต่งโบราณสถานวัดช้างรอบ เขตอรัญญิก นอกเมืองกำแพงเพชรทางด้านเหนือ ใช้ประดับอยู่ที่ส่วนฐานกลมเหนือฐานแปดเหลี่ยมบนชั้นลานประทักษิณของเจดีย์ประธานวัดช้างรอบ ปัจจุบันได้หลุดร่วงไปเกือบหมด หงส์บางส่วนที่หลุดร่วงได้ถูกเก็บรักษาและจัดแสดงไว้ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำแพงเพชร หงส์ที่ประดับบนโบราณสถานวัดช้างรอบแต่ละตัวที่พบมีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน คือ เป็นรูปหงส์ด้านข้าง ยืนเรียงรายเป็นแถว ส่วนหัวมีหงอนเป็นลายกระหนก คอยาว หางเป็นรูปลายกระหนก ลักษณะเลียนแบบตามธรรมชาติ แต่มีการประดิษฐ์ลวดลายให้สวยงามมากยิ่งขึ้นโดยเฉพาะส่วนหัว คอ และหาง ซึ่งอาจเทียบได้กับรูปหงส์ปูนปั้นที่ประดับบนชั้นเชิงบาตรของปรางค์วัดจุฬามณี เมืองพิษณุโลก กำหนดอายุประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๑ หงส์ถือเป็นสัตว์ชั้นสูงที่ปรากฏในคติความเชื่อทั้งในศาสนาฮินดูและพระพุทธศาสนา ชาวฮินดูถือว่าหงส์เป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ โดยเป็นพาหนะของพระพรหมซึ่งเป็นเทพเจ้าองค์สำคัญของศาสนาฮินดู ส่วนในทางพระพุทธศาสนาเชื่อว่าหงส์เป็นสัญลักษณ์แห่งความบริสุทธิ์ เป็นตัวแทนของพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ นอกจากนี้ยังเชื่อกันอีกว่าเป็นเจ้าแห่งนกทั้งปวง เป็นผู้พิทักษ์รักษาท้องฟ้า และเป็นพาหนะที่นำวิญญาณของผู้ตายไปสู่สวรรค์ ที่มาของข้อมูล : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำแพงเพชร เอกสารอ้างอิง กรมศิลปากร. นำชมพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำแพงเพชร. กรุงเทพฯ : รุ่งศิลป์การพิมพ์, ๒๕๕๗.