ค้นหา

รายการที่พบทั้งหมด 40,814 รายการ

***บรรณานุกรม***  หนังสือหายาก  สัญญา  ธรรมศักดิ์.  ปาฐกถา ของ นายสัญญา ธรรมศักดิ์ อุปนายกพุทธสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ แสดง ณ ห้องประชุมกรมสรรพากร เมื่อวันอังคารที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๐๖ ออกเป็น เรื่อง "พระพุทธศาสนาในประเทศเยอรมัน"  กรมสรรพากร  พิมพ์แจกในงานทอดพระกฐินพระราชทาน ณ วัดตูม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วันเสาร์ที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๐๖.  พระนคร : ร.พ.อักษรสาสน์, ๒๕๐๖.



ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง เปิดการให้บริการพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุทยานประวัติศาสตร์ โบราณสถานที่เก็บค่าเข้าชม หอสมุดแห่งชาติ และหอจดหมายเหตุแห่งชาติ


หมวดหมู่                        พุทธศาสนาภาษา                            บาลี/ไทยหัวเรื่อง                          วรรณกรรมพุทธศาสนาประเภทวัสดุ/มีเดีย            คัมภีร์ใบลานลักษณะวัสดุ                    18 หน้า : กว้าง 5 ซม. ยาว 53.5 ซม. บทคัดย่อ                      เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอม เส้นจาร ฉบับชาดทึบ ได้รับบริจาคมาจากพระอธิการเด่น ปญฺญาทีโป วัดคิรีรัตนาราม  ต.ดอนคา อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี ดำเนินการอนุรักษ์เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2534  


หมวดหมู่                        พุทธศาสนาภาษา                            บาลี/ไทยอีสานหัวเรื่อง                          ธรรมเทศนา                                    พระไตรปิฏก                                    อรรถกถา                                    พุทธศาสนา—หลักธรรมประเภทวัสดุ/มีเดีย            คัมภีร์ใบลานลักษณะวัสดุ                    30 หน้า : กว้าง 4.5 ซม. ยาว 57 ซม. บทคัดย่อ                      เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอม เส้นจาร ฉบับชาดทึบ ได้รับบริจาคมาจากพระอธิการเด่น ปญฺญาทีโป วัดคิรีรัตนาราม  ต.ดอนคา อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี ดำเนินการอนุรักษ์เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2534  



เลขทะเบียน : นพ.บ.11/9ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ :  52 หน้า  ; 4 x 56 ซ.ม. : ล่องชาด ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 7 (74-82) ผูก 8หัวเรื่อง : จูฬวคฺคปาลิ--เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


ภาชนะดินเผายุคก่อนประวัติศาสตร์ (Prehistoric Pottery)   1. ภาชนะดินเผาทรงพาน (5,000-3,000 ปีมาแล้ว) พบจากการขุดค้นทางโบราณคดีที่แหล่งโบราณคดีถ้ำหลังโรงเรียน บ้านทับปริก อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ เมื่อพ.ศ. 2526 ดักลาส แอนเดอร์สัน จากมหาวิทยาลัยบราวน์ สหรัฐอเมริกา มอบให้กองโบราณคดีเมื่อพ.ศ. 2529 พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ถลาง รับมาเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2532     1. Pedestaled pottery (5,000-3,000 B.P.) found from archaeological excavation at Lang Rongrien rock shelter archaeological site, Ban Tabprik, Mueang Krabi district, Krabi province in 1983. Douglas D. Anderson from Brown university, USA gave to Office of Archaeology in 1986. Thalang National Museum received on 5 February 1989.   2. ภาชนะดินเผาทรงชามก้นสอบ (6,500–3,000 ปีมาแล้ว) พบจากการสำรวจแหล่งโบราณคดีถ้ำเขาลังตัง หมู่ที่ 1 บ้านนาเหนือ ตำบลนาเหนือ อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ เมื่อพ.ศ.2526 โดยอมรา ขันติสิทธิ์ นักโบราณคดีจากกองโบราณคดี กรมศิลปากร และคณะ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ถลาง รับมาเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2532     2. Bowl pottery (6,500-3,000 B.P.) found from archaeological survey at Khao Lang Tang cave, Ban Na Nua, Na Nua sub-district, Ao Leuk district, Krabi province in 1983 by Amara Khantisit, archaeologist from Office of Archaeology and others. Thalang National Museum received on 5 February 1989.   3. ภาชนะดินเผาก้นกลม (6,500-3,000 ปีมาแล้ว) เป็นหม้อปากผาย มีลายขูดขีดทั้งใบ พบที่เขาถ้ำเขาปินะ ตำบลนาวง อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง   3. Round bottom pottery (6,500-3,000 B.P.) with incising decoration found at Khao Pina cave, Na Wong sub-district, Huay Yot district, Trang province.         4. ภาชนะดินเผาทรงชามก้นแบน (6,500-3,000 ปีมาแล้ว) ตกแต่งด้วยลายเชือกทาบ พบที่เขาถ้ำเขาปินะ ตำบลนาวง อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง     4. Flat bottom pottery (6,500-3,000 B.P.) with cord marked decoration found at Khao Pina cave, Na Wong sub-district, Huay Yot district, Trang province.   5. ภาชนะดินเผาก้นกลม (4,000-2,500 ปีมาแล้ว) ได้จากการสำรวจที่ถ้ำเกาะต้อ ตำบลอ่าวนาง อำเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ เมื่อ พ.ศ. 2512 พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ถลาง รับมอบจาก พิพิธภัณฑสถานแห่งชาตินครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2542   5. Round bottom pottery (4,000-2,5000 B.P.) found from archaeological survey at Koh Toh cave, Ao Nang sub-district, Muang Krabi district, Krabi province in 1969. Thalang National Museum received from Nakhon Si Thammarat National Museum on 22 February 1999.         6. ภาชนะดินเผาทรงชามก้นแบน (6,500-3,000 ปีมาแล้ว) พบจากการสำรวจแหล่งโบราณคดีถ้ำเขาลังตัง หมู่ที่ 1 บ้านนาเหนือ ตำบลนาเหนือ อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ เมื่อพ.ศ.2526 โดยอมรา ขันติสิทธิ์ นักโบราณคดีจากกองโบราณคดี กรมศิลปากร และคณะ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ถลาง รับมาเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2532   6. Flat bottom pottery (6,500-3,000 B.P.) found from archaeological survey at Khao Lang Tang cave, Ban Na Nua, Na Nua sub-district, Ao Leuk district, Krabi province in 1983 by Amara Khantisit, archaeologist from Office of Archaeology and others. Thalang National Museum received on 5 February 1989.       7. ชิ้นส่วนภาชนะดินเผา หม้อสามขา (6,500-3,000 ปีมาแล้ว) พบจากการสำรวจทางโบราณคดีที่ถ้ำต้นมะขาม เขาปินะ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง เมื่อปี พ.ศ.2519 โดยหน่วยศิลปากรที่ 9 สงขลา พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ถลาง รับจาก พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2540     7. Tripod pottery sherd (6,500-3,000 B.P.) found from archaeological survey at Ton Makham cave, Khao Pina, Huay Yot district, Trang province in 1976 by 9th division of Fine Art Department Songkhla. Thalang National Museum received from Songkhla National Museum on 7 February 1997.


ชื่อผู้แต่ง        ศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยวงกูร) พระยาและอิศรพันธุ์โสภณ (ม.ร.ว หนู อิศรางกูร) , พระยา ชื่อเรื่อง         มูลบทบรรพกิจ , บทประพันธ์บางเรื่องของพระยาอิศรพันธุ์โสภณ ครั้งที่พิมพ์     สถานที่พิมพ์   กรุงเทพ ฯ สำนักพิมพ์     อมรินทร์การพิมพ์ ปีที่พิมพ์        2525  จำนวน          185 หน้า หมายเหตุ       พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพนางจรูญ สิทธิพยากรณ์ (จรูญ วีรานุวัตติ์)                    มูลบทบรรพกิจเป็นกิจเป็นแบบเรียนหลวง ในสมัย ร.5 เนื้อหาประกอบด้วย วิธีใช้ตัวอักษรพยัญชนะ เสียงสูงต่ำ สระวรรณยุกต์ และการผันตัวอักษร และยังแทรกด้วยกาพย์พระไชยสุริยา เพื่อใช้เป็นแบบหัดอ่านเบื้องต้น นอกจากนั้น ยังมีหนังสือที่อยู่ในชุดเดียวกันอีก ๔ เรื่อง                    ส่วนบทประพันธุ์บางเรื่องของพระยาอิศรพันธุ์โสภณ (ม.ร.ว หนู อิศรางกูร) ประกอบด้วยเรื่องมงคลคาถาแปลแต่งเป็นคำโคลง นอกจากนั้นทรงร่วมแต่งประกอบด้วย เรื่อง โคลงเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาบำราบปรปักษ์ เรื่องที่ ๓๑ ชื่อ ธาตุมิสการธนัญชโยวาท โคลงพิพิธพากย์ โคลงรามเกียรติ์ และนิราศอิเหนา


 ชื่อผู้แต่ง  :  -   ชื่อเรื่อง  :  จดหมายเหตุ รัชกาลที่ ๓ เล่ม ๒   ปีที่พิมพ์  :  ๒๕๓๐   ครั้งที่พิมพ์  :  -   สถานที่พิมพ์  : กรุงเทพมหานคร   สำนักพิมพ์  :  ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคลสหประชาพาณิชย์   จำนวนหน้า  :  ๑๓๘ หน้า   หมายเหตุ  :  รัฐบาลในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จัดพิมพ์ทูลเกล้าฯ ถวายสนอง   พระมหากรุณาธิคุณ ในมหามงคลเฉลิมพระเกียรติวันพระบรมราชสมภพ ครบ ๒๐๐ ปี พระบาทสมเด็จ   พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พุทธศักราช ๒๕๓๐                          หนังสือชุดนี้จะเป็นหลักฐานแสดงถึงพระปรีชาญาณอันลึกซึ้ง ของพระมหากษัตริย์ใน   พระบรมจักรีวงศ์ ว่าทรงตรากตรำทำนุบำรุงรักษาบ้านเมืองไว้ด้วยพระวิริยานุภาพอย่างยิ่ง   และพระราชกรณียกิจเหล่านั้น ประดุจรากฐานแห่งความเจริญรุ่งเรืองของประเทศตลอดมาจนถึงปัจจุบันนี้ทั้งสิ้น


ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา.  เที่ยวตามทางรถไฟ และรวมเรื่องเมืองนครราชสีมา.  พระนคร : กรมศิลปากร, 2505.                 หนังสือเที่ยวตามทางรถไฟ และรวมเรื่องเมืองนครราชสีมา สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงนิพนธ์ ให้ความรู้ในทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี ตลอดจนเป็นคู่มือของนักทัศนาจรได้เป็นอย่างดี


ชื่อเรื่อง : วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดลำพูน ผู้แต่ง : คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุในคณะกรรมการอำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ปีที่พิมพ์ : 2544 สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์ : กระทรวงมหาดไทย : กระทรวงศึกษาธิการ และกรมศิลปากร


ชื่อเรื่อง : เจ้านายและข้าราชการกราบบังคมทูลความเห็นจัดการเปลี่ยนแปลงราชการแผ่นดิน ร.ศ.103 และพระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงแถลงพระบรมราชาธิบายแก้ไขการปกครองแผ่นดิน ชื่อผู้แต่ง : กรมศิลปากร ปีที่พิมพ์ : 2510 สถานที่พิมพ์ : พระนคร สำนักพิมพ์ : โรงพิมพ์กรมสรรพสามิต จำนวนหน้า : 142 หน้า สาระสังเขป : หนังสือเล่มนี้รวบรวมหนังสือกราบบังคมทูลความเห็นจัดการเปลี่ยนแปลงราชการแผ่นดิน โดยคณะบุคคลที่ร่วมกันทำหนังสือกราบบังคมทูลฯ ล้วนแต่เป็นกลุ่มเจ้านายและข้าราชการรุ่นใหม่ที่ได้มีโอกาสไปศึกษาและทำงานอยู่ในต่างประเทศ โดยเห็นว่าสยามควรปรับปรุงเปลี่ยนแปลง เพื่อให้มีความเจริญก้าวหน้าทัดเทียมอารยประเทศ และเพื่อรับมือกับภัยอันจะเกิดจากบรรดาประเทศมหาอำนาจทั้งหลาย และพยายามเสนอแนวทางแก้ไข และเรียกร้องรัฐธรรมนูญในการปกครองประเทศอีกด้วย ซึ่งเอกสารเหล่านี้เป็นเอกสารสำคัญในด้านประวัติศาสตร์การปกครองของไทย


          ชื่อเรื่อง : คนทำงานสำเร็จไม่จำเป็นต้องสมบูรณ์แบบ      ผู้เขียน : ทาเคชิ ฟุรุคะวะ      สำนักพิมพ์ : ซีเอ็ดยูเคชั่น      ปีพิมพ์ : 2562      เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ : 978-616-08-3409-9       เลขเรียกหนังสือ : 158.7 ฟ379ค       ประเภทหนังสือ : หนังสือทั่วไป      ห้องบริการ : ห้องหนังสือทั่วไป 1 สาระสังเขป : คนมักจะยึดติดกับการทำงานให้สมบูรณ์แบบ ความคาดหวังนั้นอาจจะเปลี่ยนเป็นแรงกดดันจนทำให้ทำงานพลาดหรือต้องรับภาระที่หนักเกินไป ดังนั้นหาก        เราลองปล่อยวางความคิดเรื่องสมบูรณ์แบบแล้วเรียนรู้ที่จะทำงานอย่างยืดหยุ่นลองดู ผลลัพธ์ที่ได้อาจทำให้งานนั้นมีประสิทธิภาพ บรรลุผลแม้จะไม่สมบูรณ์แบบเสมอไปก็ได้  "คนทำงานสำเร็จไม่จำเป็นต้องสมบูรณ์แบบ" เป็นหนังสือแปลจากนักเขียนชาวญี่ปุ่น "ทาเคชิ ฟุรุคะวะ" วิทยากรและผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการพฤติกรรมมนุษย์ ซึ่งได้แนะนำแนวคิดและวิธีการใชีชีวิตให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด โดยการฝึกวิเคราะห์สถานการณ์และงาน จัดลำดับความสำคัญของงานได้ นำเสนอความคิดที่เชื่อว่า เพียงแค่เราเปลี่ยนพฤติกรรมเล็กๆ น้อยๆ ได้ ชีวิตของเราก็จะเปลี่ยนไป แนะนำว่าพฤติกรรมหรือความคิดแบบไหนที่ไม่ดี และสนับสนุนให้ลองเปลี่ยนวิธีคิดและพฤติกรรมใหม่ เช่น สมบูรณ์แบบเกินไป ลดประสิทธิภาพในการทำงาน การสร้างผลงานให้มีประสิทธิภาพในเวลาที่สั้น ประยุกต์อย่างมีประสิทธิภาพ เพิ่มคุณภาพงาน อย่ากลัวความผิดพลาด สร้างความสบายใจให้กับตัวเอง และใช้แรงงานของคนรอบข้างอย่างถูกวิธี เป็นต้น ซึ่งเรื่องราวเหล่านี้จะช่วยให้ผู้อ่านเปลี่ยนลักษณะนิสัยและพฤติกรรม เพื่อลดความตึงเครียดและควากดดันจากการทำงานสามารถทำงานได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ รวมถึงเปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับการทำงานอย่างสมบูรณ์แบบ ให้เป็นการทำงานอย่างมีประสิทธภาพ โดยเริ่มจากการเปลี่ยนแปลงหลักการคิด และการกระทำต่างๆ ในชีวิตประจำวันของเรา




Messenger