ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 40,815 รายการ
ชื่อเรื่อง สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม (สงฺคิณี-มหาปฏฺฐาน) อย.บ. 55/7ประเภทวัดุ/มีเดีย คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่ พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ 46 หน้า : กว้าง 5 ซม. ยาว 56 ซม.หัวเรื่อง พุทธศาสนาบทคัดย่อ/บันทึก เป็นคัมภีร์ใบลาน เส้นจาร ฉบับทองทึบ ไม้ประกับธรรมดา ได้รับบริจาคมาจาก จ.พระนครศรีอยุธยา
สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม (สงฺคิณี-มหาปฎฺฐาน) ชบ.บ 158/7 เอกสารโบราณ (คัมภีร์ใบลาน)
ชื่อผู้แต่ง สายเมือง วิรยศิริ
ชื่อเรื่อง ชาวเขาในประเทศไทย
ครั้งที่พิมพ์ -
สถานที่พิมพ์ กรุงเทพฯ
สำนักพิมพ์ โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว
ปีที่พิมพ์ ๒๕๒๙
จำนวนหน้า ๕๔ หน้า
รายละเอียด
ชาวเขาในประเทศไทย เป็นหนังสือชุดความรู้ไทย ขององค์การค้าของคุรุสภา อันดับที่ ๒๐๐๕ รวบรวมเรื่องราวเกี่ยวกับชาวเขาในประเทศไทยในด้านต่างๆ ได้แก่ ประวัติความเป็นมา การกระจายตัวของชาวเขาในประเทศไทย ชนเผ่าต่างๆ เป็นต้น เพื่อให้ผู้อ่านได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับชาวเขาในฐานะที่ชาวเขาคือคนไทยคนหนึ่ง พร้อมภาพประกอบ
เลขวัตถุ
ชื่อวัตถุ
ขนาด (ซม.)
ชนิด
สมัยหรือฝีมือช่าง
ประวัติการได้มา
ภาพวัตถุจัดแสดง
40/2553
(16/2549)
ขวานหินขัด สีน้ำตาลอ่อน ด้านหนึ่งขัดเรียบ อีกด้านหนึ่งมีรอยกะเทาะ
ย.7.2 ก.3.4
หิน
สมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย อายุราว 2,500-2,000 ปีมาแล้ว
ได้จากบ้านเขาเพิ่ม อำเภอบ้านนา จ.นครนายก เมื่อประมาณ พ.ศ. 2539
เลขทะเบียน : นพ.บ.426/4กห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 20 หน้า ; 4 x 59 ซ.ม. : ล่องชาด-ล่องรัก-ลานดิบ ; ไม่มีไม้ประกับชื่อชุด : มัดที่ 153 (109-119) ผูก 4ก (2566)หัวเรื่อง : พระธัมสังคิณี--เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
เลขทะเบียน : นพ.บ.567/1ค ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณ หมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 26 หน้า ; 4 x 55.5 ซ.ม. : ลานดิบ ; ไม่มีไม้ประกับชื่อชุด : มัดที่ 186 (347-356) ผูก 1ค (2566)หัวเรื่อง : แทนน้ำนมแม่--เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
ภาพ : ครุฑโขนเรือ กรมศิลปากร ขอเชิญชมนิทรรศการพิเศษ เรื่อง “ทองคำในงานประณีตศิลป์สมัยอยุธยา” ให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ทองคำในการสร้างสรรค์งานประณีตศิลป์อันงดงาม เปิดให้ชมตั้งแต่บัดนี้จนถึงวันที่ 15 กรกฎาคม 2566 ณ อาคารเครื่องทองอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
นายพนมบุตร จันทรโชติ อธิบดีกรมศิลปากร เปิดเผยว่า ภารกิจหนึ่งที่สำคัญของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร คือ การเผยแพร่ความรู้และข้อมูลเกี่ยวกับมรดกศิลปวัฒนธรรมให้ประชาชนได้รับทราบ ไม่ว่าจะเป็นการจัดนิทรรศการเคลื่อนที่หรือนิทรรศการชั่วคราว ที่ผ่านมาพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา ตระหนักถึงความสำคัญในข้อนี้ ได้จัดนิทรรศการชั่วคราวขึ้นในพิพิธภัณฑ์เป็นประจำทุกปี ซึ่งปรากฏว่าประชาชนได้ให้ความสนใจเข้าชมอย่างสม่ำเสมอ เนื่องในโอกาสวันอนุรักษ์มรดกไทยประจำปี ๒๕๖๖ ทางพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา จึงจัดนิทรรศการเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ต่าง ๆ ขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ณ อาคารเครื่องทองอยุธยา โดยได้จัดนิทรรศการพิเศษ เรื่อง “ทองคำในงานประณีตศิลป์สมัยอยุธยา”นำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ทองคำในงานประณีตศิลป์สมัยอยุธยา ไม่ว่าจะเป็นการสร้างพระพิมพ์ แผ่นทองคำรูปสัตว์ พระพุทธรูป ตู้พระธรรม และหีบพระธรรม โดยแสดงเนื้อหาในด้านการผลิตชิ้นงาน และจัดแสดงโบราณวัตถุให้เห็นถึงรูปแบบ อายุสมัย และเทคนิคการสร้าง ให้แก่ประชาชนทั่วไปและผู้ที่สนใจได้รับทราบ ซึ่งจะทำให้ผู้เข้าชมได้รับความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ทองคำในงานประณีตศิลป์ได้ดียิ่งขึ้น
กรมศิลปากรขอเชิญชวนทุกท่านไปชื่นชมความงามของโบราณวัตถุที่บรรพบุรุษได้ใช้องค์ความรู้สรรค์สร้างไว้มาจนจวบถึงปัจจุบัน ในนิทรรศการพิเศษ เรื่อง “ทองคำในงานประณีตศิลป์สมัยอยุธยา” ผู้สนใจสามารถเข้าชมได้ตั้งแต่บัดนี้จนถึงวันที่ 15 กรกฎาคม 2566 เวลา 09.00 - 16.00 น. (ปิดวันจันทร์) ณ อาคารเครื่องทองอยุธยา ชั้นที่ 1 พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 0 3524 1587
ภาพ : พระพุทธรูปทรงเครื่องปางประทานอภัยภาพ : พระพุทธรูปปางมารวิชัยภาพ : แผ่นทองคำรูปช้างภาพ : แผ่นทองคำรูปเต่าภาพ : ตู้พระธรรมลายกำมะลอภาพ : ตู้พระธรรมลายรดน้ำ ปิดทอง
ภัทราวดี. สมบัติกุลสตรี. พระนคร: อุดมศึกษา, ๒๕๑๐.
คู่มือกุลสตรีที่ได้รวบรวมและประมวลเรื่องที่ควรรู้ ได้แก่ การแต่งกาย มรรยาทในสังคม การบริหารกาย การรักษาทรวดทรง หน้าที่แม่บ้าน เพศศึกษา โรคภัยไข้เจ็บที่ควรรู้ และกฎหมายเกี่ยวกับครอบครัว เป็นต้น
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครคีรี ขอเชิญชวนพุทธศาสนิกชน ร่วมสดับพระธรรมเทศนา เพื่อสืบสานพระพุทธศาสนา ตามรอยธรรมพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในวันธรรมสวนะ ตลอดเดือนกรกฎาคม ๒๕๖๖ (วันที่ ๒, ๑๐, ๑๗, ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๖) ตั้งแต่เวลา ๑๒.๐๐ น. ณ หอจตุเวทปริพัจน์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครคีรี จังหวัดเพชรบุรี
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทร. ๐ ๓๒๒๔๒ ๕๖๐๐ Facebook : พระนครคีรี กรมศิลปากร / Phra Nakhon Khiri, The Fine Arts Department
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเชียง ขอเสนอองค์ความรู้เนื่องในวันพิพิธภัณฑ์สากล ๑๘ พฤษภาคม โดยนางสาวภัสอาภา ธีรวุฒิชูวงศ์ ภัณฑารักษ์ปฏิบัติการ พิพิธภัณสถานแห่งชาติ บ้านเชียง
ใบหน้าบุคคล หรือใบหน้าอสูร
แบบศิลปะ : ลพบุรี
ชนิด : ปูนปั้น
ขนาด : สูง 14 เซนติเมตร กว้าง 13.50 เซนติเมตร
อายุสมัย : พุทธศตวรรษที่ 18
ลักษณะ : ประติมากรรมใบหน้าบุคคล หรือใบหน้าอสูร พักตร์เรียวรูปไข่ นลาฏแคบ สวมกะบังหน้า ตรงกลางประดับดอกไม้สี่กลีบ พระขนงหนาเป็นปื้นขีดเป็นร่อง นาสิกโด่ง ลืมเนตร ในลักษณะเบิกโพลง เปลือกเนตรหนา โอษฐ์หนา อยู่ในอาการเบะโอษฐ์ หนุบุ๋ม
สภาพ : ค่อนข้างสมบูรณ์ ผิวปูนสึกกร่อนเล็กน้อย
ประวัติ : พบจากแหล่งโบราณสถานเนินทางพระ ตำบลบ้านสระ อำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ย้ายจากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2543
สถานที่จัดแสดง : ห้องเมืองสุพรรณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี
แสดงภาพวัตถุหมุน คลิกที่นี่ http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/suphanburi/360/model/17/
ที่มา: hhttp://www.virtualmuseum.finearts.go.th/suphanburi
องค์ความรู้สุพรรณบุรี เรื่อง ลูกปัดโบราณ อู่ทอง
ผู้เรียบเรียง :
นางอภิญญานุช เผ่าพงษ์คล้าย บรรณารักษ์ชำนาญการ
หอสมุดแห่งชาติจังหวัดสุพรรณบุรี เฉลิมพระเกียรติ