ค้นหา

รายการที่พบทั้งหมด 40,815 รายการ

เลขทะเบียน : นพ.บ.426/4ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 16 หน้า ; 4 x 59.5 ซ.ม. : ล่องชาด-ล่องรัก-ลานดิบ ; ไม่มีไม้ประกับชื่อชุด : มัดที่ 153  (109-119) ผูก 4 (2566)หัวเรื่อง : พระธัมสังคิณี--เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


เลขทะเบียน : นพ.บ.567/1ข                               ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณ                                                                                หมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 26 หน้า ; 4.5 x 55 ซ.ม. : ลานดิบ ; ไม่มีไม้ประกับชื่อชุด : มัดที่ 186  (347-356) ผูก 1ข (2566)หัวเรื่อง : แทนน้ำนมแม่--เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


ชื่อเรื่อง                          มงฺคลตฺถทีปนี (มงฺคลทีป)สพ.บ.                             432/3ประเภทวัสดุ/มีเดีย       คัมภีร์ใบลาน หมวดหมู่                       พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ                  56 หน้า : กว้าง 4.5 ซม.  ยาว 57 ซม.หัวเรื่อง                          พุทธศาสนา--การศึกษาและการสอน                                        ชาดกบทคัดย่อ/บันทึก   เป็นคัมภีร์ใบลาน  อักษรขอม-ธรรมอีสาน เส้นจาร ภาษาบาลี-ไทย-ไทยอีสาน ฉบับล่องชาด ลานดิบ ไม่มีไม้ประกับ ได้รับบริจาคมาจากวัดลานคา ต.โคกคราม อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี  


วันนี้ในอดีต​ 13 พฤษภาคม​ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง​ เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิด​ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง สุพรรณบุรี พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง กรมศิลปากร ได้รับการจัดตั้งขึ้นในพุทธศักราช 2502 เพื่อรวบรวมโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุที่ได้จากการสำรวจ ขุดแต่งบูรณะ และขุดค้นพบภายในบริเวณเมืองโบราณอู่ทอง และบริเวณใกล้เคียง พุทธศักราช 2508 - 2509 กรมศิลปากรได้จัดสร้างอาคารจัดแสดงพิพิธภัณฑสถานถาวร พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เสด็จพระราชดำเนินมาทรงเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2509 นับเป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในภูมิภาคแห่งที่ 3 ที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชดำเนินมาทรงเปิด


คาร์เนกี, เดล.  วิธีสร้างความเชื่อมั่นในตนเองและจูงใจคนโดยการพูดในที่ชุมนุม=How to develop      self-confidence and influence people by public speaking.  พระนคร: ขอจิตต์เมตต์,      ๒๕๐๐.           เป็นหนังสือที่เกี่ยวกับการพัฒนาตนเองทางด้านการพูดของ เดล คาร์เนกี ว่าด้วยความรู้และแนวทางการพูดในที่ชุมชน ผ่านเรื่องราวจากบทเรียนทั้ง ๑๕ บทเรียน ตั้งแต่ ๑. สร้างความกล้าหาญและความเชื่อมั่นในตนเอง ๒. ความเชื่อมั่นในตนเองโดยอาศัยการเตรียม ๓. วิธีนักพูดเรืองนามปาฐกถา ๔. วิธีทำให้ความจำดีขึ้น ๕. วิธีทำให้ผู้ฟังตื่นอยู่ตลอดเวลา ๖. สิ่งจำเป็นเพื่อบรรลุความสำเร็จในปาฐกถา ๗. เคล็ดลับของการแสดงปาฐกถาที่ดี ๘. ท่าทางและบุคลิกลักษณะบนเวที ๙. วิธีเปิดฉากปาฐกถา ๑๐. วิธีปิดฉากปาฐกถา ๑๑. วิธีทำให้ความหมายแจ่มแจ้ง ๑๒. วิธีพูดให้ประทับใจและจูงใจให้เชื่อ ๑๓. วิธีทำให้ผู้ฟังสนใจ ๑๔. วิธีทำให้ปฏิบัติตาม และ ๑๕. วิธีปรับปรุงถ้อยคำสำนวนให้ดีขึ้น


          หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ตรัง ขอเชิญชวนน้อง ๆ ที่มีอายุระหว่าง 8 - 12 ปี เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน "สารานุกรมสวนสัตว์" ในวันเสาร์ที่ 8 กรกฎาคม 2566 เวลา 13.00 - 14.30 น. ณ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติฯ ตรัง เตรียมพบกับกิจกรรมการแข่งขันการหาข้อมูลเกี่ยวกับสัตว์ชนิดต่าง ๆ ผ่านการอ่านหนังสือสารานุกรม ฉบับเยาวชน พร้อมลุ้นรับของรางวัล           รีบสมัครด่วน! รับจำนวนจำกัด เปิดรับสมัครตั้งแต่บัดนี้ถึงวันที่ 7 กรกฎาคม 2566 โทร. 09 5037 4036 หรือทาง Facebook : หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติฯ ตรัง https://www.facebook.com/nltrang.finearts


  "กล่าวถึงเมืองศรีสะเกษ" เมื่อถึงเวลาพระ "โพธิสัตว์" จะลงมาจุติเพื่อบำเพ็ญเพียรบารมี ตามธรรมเนียมเป็นหน้าที่ของพระอินทร์ ที่จะคอยช่วยเหลือจัดการให้บรรลุจุดประสงค์ตามเป้าหมาย โดยพระอินทร์แปลงร่างเป็นพญาช้างเผือกลงมาเหยียบย้ำข้าวในที่นาของหญิงหม้าย นางผู้ที่มีฝีมือในการทอผ้าและสอนวิชาการทอผ้าให้กับหญิงชาวเมืองจนเป็นที่รักใคร ช้างเผือกอินทร์แปลงได้เหยียบย้ำข้าวในที่นาของนางให้เสียหาย และทิ้งรอยเท้ามีน้ำขังไว้ ๑ รอย นางมาเห็นความเสียหายของต้นข้าวในนา นางเสียใจมาก และนางเดินหาสาเหตุที่ทำให้ข้าวในนาเสียหายจนเกิดความเหนื่อยหล้าและกระหายน้ำ นางจึงกินน้ำในแอ่งรอยเท้าพญาช้างเผือกนั้น ต่อมานางตั้งครรภ์ และได้คลอดกุมารน้อย นามว่า "คัทธนกุมาร" พร้อมดาบวิเศษศรีกัญไชยเป็นอาวุธคู่กาย กุมารน้อยเติบโตขึ้นมาด้วยความรักแสนอบอุ่นจากมารดา แต่ว่าเวลาเล่นกับเพื่อนๆมักจะโดนหยอกล้อว่าตนเป็นลูกช้าง พออายุได้ ๗ ปี คัทธนกุมารจึงอยากที่จะเจอพ่อของตน นางจึงพาคัทธนกุมารไปดูรอยเท้าของบิดาจึงรู้บิดาของตนเป็นพญาช้างจึงคิดว่าสักวันถึงเวลาอันควรจะต้องออกติดตามหาบิดาผู้ให้กำเนิดให้เจอจนได้ วันหนึ่งสองแม่ลูกออกหาขุดเผือกขุดมันในป่า มีนางยักษ์ตนหนึ่งเห็นกองไฟที่ทั้งสองจุดไว้ นางยักษ์จึงหมายจะเข้าไปจับมารดาของคัทธนกุมารกิน ขณะนั้นเองกุมารก็กระโดดขึ้นจากหลุมมัน ขึ้นมาช่วยมารดาตน ด้วยบุญญาธิการพร้อมพละกำลังดังพญาช้างสารจึงสามารถปราบนางยักษ์ได้ และหมายจะฆ่านางยักษ์เสีย นางร้องขอชีวิตจากกุมาร และได้มอบคนโฑทิพย์(น้ำในคนโททิพย์ช่วยให้ร่างกายกลายเป็นสาวเป็นหนุม) พร้อมกับนางยักษ์ได้ชี้บอกขุมทองคำให้แก่กุมาร กุมารจึงขุดทองคำและนำไปแจกจ่ายแก่ชาวเมือง ครั้นพออายุได้ ๑๖ ปี ข่าวนี้เลื่องลือถึงบุญญาธิการและพลังมหาศาลของคัทธนกุมาร เจ้าเมืองศรีสะเกษ พระองค์จึงให้ทหารไปเชิญคัทธนะมาแสดงบุญญาธิการและพลังกำลังให้พระองค์ทอดพระเนตร...คัทธนะได้แสดงพละกำลังด้วยการถอนต้นตาล ๒ ต้น และเหาะขึ้นไปในอากาศพร้อมทั้งร่ายรำลีลาสวยงาม เจ้าเมืองเห็นแล้วจึงเกิดความชอบรักใคร่เอ็นดูและได้พระราชทานตำแหน่งให้เป็น"อุปราชแสนเมือง" จากนั้นคัทธนกุมารจึงรับเอามารดามาอยู่ด้วย และใช้น้ำจากคนโฑทิพย์เนรมิตมารดาให้เป็นสาวสวย ถวายเป็นพระชายาเจ้าเมืองศรีสะเกษ...จากนั้นอีก ๓ ปี คัทธนะจึงขอมารดาและเจ้าเมืองศรีสะเกษออกเดินทางตามหาพระบิดาผู้ให้กำเนิดพร้อมอาวุธคู่กายและคนโฑทิพย์ ตามเรื่องราว"คัทธนกุมารชาดก" (ภาพเล่าเรื่องจิตรกรรมฝาผนังมุขทิศเหนือด้านทิศตะวันตก วัดภูมินทร์ อำเมือง จังหวัดน่าน) เรียบเรียง : นางสาวกรอุมา นุตะศรินทร์ นักวิชาการช่างศิลป์ชำนาญการพิเศษรับชมวีดีโอ : กำเนิด "คัทธนกุมาร"เครดิต : กลุ่มอนุรักษ์จิตรกรรมและประติมากรรม กองโบราณคดี กรมศิลปากร


          ใบหน้าบุคคล หรือเศียรเทวดา           แบบศิลปะ : ลพบุรี           ชนิด : ปูนปั้น           ขนาด : สูง 7.8 เซนติเมตร กว้าง 2.5 เซนติเมตร           ลักษณะ : เกล้ามวยตรงกึ่งกลางพระเศียร สวมเทริดแบบกะบังหน้า พระพักตร์รูปไข่  พระเนตรเหลือบต่ำ พระนาสิกโด่งงุ้มเป็นสัน พระโอษฐ์แย้ม           สภาพ : ชำรุด ผิวด้านนอกสึกกร่อนทั่วไป พระกรรณและพระขนงซ้ายชิ้นส่วนหักหายไป           ประวัติ : พบจากการขุดแต่งโบราณสถานเนินทางพระ หมู่ 6 ตำบลบ้านสระ อำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ย้ายจากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง เมื่อวันที่ 29 พ.ค.           สถานที่จัดแสดง : ห้องเมืองสุพรรณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี     แสดงภาพวัตถุหมุน คลิกที่นี่ http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/suphanburi/360/model/19/   ที่มา: hhttp://www.virtualmuseum.finearts.go.th/suphanburi


องค์ความรู้สุพรรณบุรี เรื่อง เขื่อนกระเสียว ผู้เรียบเรียง : นางอภิญญานุช เผ่าพงษ์คล้าย บรรณารักษ์ชำนาญการ หอสมุดแห่งชาติจังหวัดสุพรรณบุรี เฉลิมพระเกียรติ




ชื่อโบราณวัตถุ : ภาชนะดินเผาทรงเป็ดแบบศิลปะ : สมัยก่อนประวัติศาสตร์ชนิด : ดินเผาขนาด : สูง 19.5 เซนติเมตรกว้าง 19 เซนติเมตรอายุสมัย : วัฒนธรรมบ้านเชียงสมัยต้น 4,500 - 3,000 ปีมาแล้วลักษณะ : ภาชนะดินเผามีเชิง มีรูปทรงคล้ายเป็ด แต่ไม่มีศีรษะ มีการตกแต่ง ด้วยลายเชือกทาบ ขูดขีด ปั้นแปะ และรมควันให้เป็นสีดำสภาพ : ...ประวัติ : พระครูนันสมณาจารย์ (โผเรียนเป้า) เจ้าคณะใหญ่ อนันนิกาย วัดชัยภูมิการาม มอบให้เมื่อ 17 กรกฎาคม 2518 ได้มาจากบ้านเชียง อำเภอหนองหาน ตำบลบ้านเชียง จังหวัดอุดรธานีสถานที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเชียง จังหวัดอุดรธานีแสดงภาพวัตถุหมุน คลิกที่นี่  http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/banchiang/360/model/29/ที่มา: http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/banchiang


วันที่ 1-7 กุมภาพันธ์ 2566 นางภควรรณ คุณากรวงศ์ , นางสาวณัพฐพร เพ็ชรกลับ บรรณารักษ์ชำนาญการ นางสาวกาญจนา ศรีเหรา และ นางสาววารุณี วิริยะชูศรี บรรณารักษ์ ได้เข้าร่วมเป็นวิทยากรโครงการอบรมหลักสูตรผู้ช่วยบรรณารักษ์ ประจำปีงบประมาณ 2566 ณ เรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรี จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม 30 คน โดยมีพันตำรวจโท ชินโชติ พุฒิวรรธธาดา ผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นประธานในพิธีเปิด


วันเสาร์ ที่ 23 มีนาคม 2567 เวลา 13.00-15.00 น. หอสมุดแห่งชาติจังหวัดสุพรรณบุรี เฉลิมพระเกียรติ จัดกิจกรรมภาพวาด นิทานเล่มโปรด ให้น้องๆได้ฟังนิทานแล้ววาดภาพนิทานตามจินตนาการที่น้องชอบ พร้อมนำภาพวาดของน้องๆ รวบรวมเพื่อจัดนิทรรศการต่อไป




Messenger