ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 40,821 รายการ
ชื่อเรื่อง เทศนาสังคิณี-มหาปัฎฐานสพ.บ. 192/5ประเภทวัสดุมีเดีย คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่ พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ 30 หน้า กว้าง 4.5 ซ.ม. ยาว 54.1 ซ.ม. หัวเรื่อง พุทธศาสนา บทสวดมนต์บทคัดย่อ/บันทึกเป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอม เส้นจาร ฉบับล่องชาด ได้รับบริจาคมาจากวัดพยัคฆาราม อ.ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี
องค์ความรู้ ร้อยเรื่อง (เล่า) เมืองสามอ่าว ตอนที่ ๔ ความลับแห่งบึงบัว เรียบเรียงและจัดทำข้อมูลโดย พิมพ์นารา ปกณ์ศิริกุล กลุ่มโบราณคดี สำนักศิลปากรที่ ๑ ราชบุรี
เลขทะเบียน : นพ.บ.67/5ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 42 หน้า ; 4.5 x 57 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 43 (14-18) ผูก 5 (2564)หัวเรื่อง : แปดหมื่นสี่พันพระธรรมขันธ์ (8 หมื่น) --เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
เลขทะเบียน : นพ.บ.100/2ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 66 หน้า ; 5 x 58 ซ.ม. : ลานดิบ ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 59 (160-169) ผูก 2 (2564)หัวเรื่อง : มหานิปาตวณฺณนา (เวสฺสนฺตรชาตก) ชาตกฎฺฐกถา ขุทฺทกนิกายฎฺฐกถา (ทสหร-นคร-กัณฑ์) --เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
เลขทะเบียน : นพ.บ.130/3ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 42 หน้า ; 5 x 55 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 76 (288-301) ผูก 3 (2564)หัวเรื่อง : ธมฺมจกฺกปฺปวตฺตนสุตฺตฎีกา (ฎีกาธมฺมจกฺก)--เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม (สังคิณี-มหาปัฎฐาน)
เลขที่ ชบ.บ.4/1-2
เอกสารโบราณ (คัมภีร์ใบลาน)
ชื่อเรื่อง : คดีเขาพระวิหาร
ชื่อผู้แต่ง : เสนีย์ ปราโมช, ม.ร.ว.
ปีที่พิมพ์ : 2505
สถานที่พิมพ์ : พระนคร
สำนักพิมพ์ : โรงพิมพ์สำนักทำเนียบนายกรัฐมนตรี
จำนวนหน้า : 252 หน้า
สาระสังเขป : หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือที่แปลคำฟ้อง คำค้าน และคำให้การของประเทศกัมพูชาในคดีเขาพระวิหาร เพื่อให้ผู้อ่านทราบถึงประเด็นการโต้เถียงระหว่าง 2 ประเทศ รวมถึงแสดงหลักฐานและเหตุผลของทั้งสองฝ่ายที่ใช้ในการสู้คดี อาทิ กัมพูชายื่นฟ้องอ้างว่า เขตแดนระหว่างไทยกับกัมพูชาที่เขาพระวิหาร มีสนธิสัญญาระหว่างไทยกับฝรั่งเศส ให้ถือตามเส้นสันปันน้ำ และปราสาทหินบนเขาพระวิหารอยู่ในเขตแดนของกัมพูชาดังมีแผนที่ของฝรั่งเศสแสดงไว้ ต่อมาไทยให้การปฏิเสธต่อสู้ว่าหากถือตามเส้นสันปันน้ำปราสาทอยู่ในเขตแดนไทย เป็นต้น
รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award) เป็นรางวัลที่มอบให้กับหน่วยงานของรัฐที่ดำเนินการพัฒนาองค์การอย่างต่อเนื่อง และมีผลด าเนินการปรับปรุงองค์การตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐอย่างโดดเด่น สำนักงาน ก.พ.ร. ได้ส่งเสริมให้ส่วนราชการดำเนินการพัฒนาองค์การตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) ปีละ 2 หมวด จนครบถ้วนทั้ง 6 หมวดในปีพ.ศ. 2554 โดยนำพื้นฐานแนวคิดมาจากสาระส าคัญของพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ที่กำหนดแนวทางปฏิบัติราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนและนำมาผนวกกับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับของการพัฒนาองค์การขั้นต้น เพื่อให้ส่วนราชการนำไปใช้เป็นกรอบการประเมินที่สามารถบ่งชี้ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการของส่วนราชการได้อย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรม สำนักงาน ก.พ.ร. ได้พัฒนาเกณฑ์การประเมินสถานะของหน่วยงานภาครัฐในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ขึ้น เพื่อเป็นกรอบในการพัฒนาองค์การสู่การเป็นระบบราชการ 4.0 และน าไปส่งเสริม เพื่อการยกระดับหน่วยงานภาครัฐสู่การเป็นระบบราชการ 4.0 และเพื่อเป็นการเชิดชูเกียรติและแรงจูงใจให้กับหน่วยงานที่มุ่งมั่นพัฒนาสู่การเป็นระบบราชการ 4.0 คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบราชการ เกี่ยวกับการส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ในการประชุม ครั้งที่ 4/2561 เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2561 ได้มีมติให้น าเกณฑ์การประเมินสถานะของหน่วยงานภาครัฐในการเป็นระบบราชการ 4.0 เป็นเกณฑ์การพิจารณารางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 4.0
ทับหลังชิ้นที่โดดเด่น ชิ้นที่ ๓ ซุ้มประตูรองทิศเหนือด้านใน โคปุระกำแพงแก้ว ของปราสาทสด๊กก๊อกธม จังหวัดสระแก้ว สภาพของทับหลังคงเหลือภาพสลักเกือบสมบูรณ์ โดยสลักเป็นภาพบุคคลที่คงเหลือเฉพาะครึ่งตัวด้านล่างประทับนั่งในท่ามหาราชลีลาสนะ(มหาราชลีลา)เหนือฐานบัวที่ตั้งอยู่บนหน้ากาลซึ่งคล้อยต่ำลงมาจนถึงขอบล่างสุดของทับหลัง หน้ากาลใช้มือทั้งสองจับท่อนพวงมาลัยที่คายออกมา ท่อนพวงมาลัยโค้งขึ้นจนเกือบกึ่งกลางของทับหลัง และตกลงมาที่ปลายทับหลังทั้งสองด้านซึ่งปรากฏรูปสัตว์สันนิษฐานว่าเป็นสิงห์ หันหน้าเข้าหาจุดกึ่งกลางของทับหลัง ตรงกลางของท่อนพวงมาลัยทั้งสองด้านถูกแบ่งครึ่งโดยเฟื่องอุบะที่ด้านบนมีพระนารายณ์ทรงครุฑหรือพระนารายณ์ทรงสุบรรณ ด้านล่างของท่อนพวงมาลัยประดับลายใบไม้ม้วน ด้านบนของท่อนพวงมาลัยประดับลายใบไม้-------------------------------------------------------ที่มาของข้อมูล : อุทยานประว้ติศาสตร์สด๊กก๊อกธม จังหวัดสระแก้ว
ชั้นแก้ว : ที่วางคัมภีร์ล้านนา
ศิลปะ ล้านนา
ขนาด กว้าง ๕๘.๔ เซนติเมตร สูง ๗๘.๘ เซนติเมตร
ทำด้วยไม้ลงรักปิดทอง ประดับกระจกสี ตัวขั้นแก้วแกะสลักเป็นรูปเทพประนมอยู่ ๒ ข้าง
พุทธสถาน จังหวัดเชียงใหม่ มอบให้ เมื่อวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๑๔
ปัจจุบันจัดแสดง ณ ห้องเครื่องสักการะในพระพุทธศาสนา พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่
"""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""
. “ที่วางคัมภีร์ หรือ ชั้นแก้ว” เป็น อุปกรณ์วางคัมภีร์ใบลานประเภทหนึ่ง (ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นิยมเรียกว่าขั้นกะเยีย)
. มีลักษณะคล้ายแผงขั้นบันได ใช้จัดเก็บวางคัมภีร์เพื่อเตรียมใช้งาน ไม่ใช่เพื่อการอ่าน โดยห่อผ้าหรือกล่องคัมภีร์จะวางอยู่บนโครงสร้างไม้ที่ยื่นออกมารับน้ำหนัก มีจำนวนขั้นเป็นเลขคี่ ซึ่งเชื่อมโยงกับการสร้างบันไดตามคติโบราณว่า “เลขคู่บันไดผี เลขคี่บันไดคน”
. ชั้นแก้ววางคัมภีร์ได้ตั้งแต่ ๓ – ๙ มัด และนิยมตกแต่งส่วนยอดและส่วนฐานด้วยการแกะสลักลวดลายหรือประดับด้วยกระจกสีเพื่อความงดงาม
""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""
ที่มา :
1. มณี พยอมยงค์ และศิริรัตน์ อาศนะ. (๒๕๓๘). เครื่องสักการะในล้านนาไทย. กรุงเทพฯ: ธนาคารไทยทนุ.
2. ประทับใจ สิกขา. (๒๕๕๓). การศึกษาเปรียบเทียบศิลปะไม้แกะสลักแถบลุ่มน้ำโขงของไทย และสปป.ลาว. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
3. กากะเยีย ขั้นกะเยีย...ผสานศิลป์ถิ่นอีสาน. (๒๕๕๘, ๗ กุมภาพันธ์). Tipitaka (DTP). ค้นเมื่อ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๖๔, จาก https://www.mps-center.in.th/manuscripts/blog/34
พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพ นางเนื่อง อุมะวิชนี ณ ฌาปนสถานกองทัพอากาศ วัดพระศรีมหาธาตุ วันที่ ๒๖ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๒๐