ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 41,340 รายการ
หมวดหมู่ พุทธศาสนาภาษา บาลี/ไทยหัวเรื่อง ภาษาบาลี--ไวยากรณ์ คัมภีร์มูลกัจจายน์ การศึกษาและการสอนประเภทวัสดุ/มีเดีย คัมภีร์ใบลานลักษณะวัสดุ 76 หน้า : กว้าง 6 ซม. ยาว 58 ซม. บทคัดย่อ
เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอม เส้นจาร ฉบับล่องชาด ได้รับบริจาคมาจากพระครูวิมลสังวร วัดแค ต.รั้วใหญ่ อ.เมืองฯ จ.สุพรรณบุรี
เลขทะเบียน : นพ.บ.34/4กห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 52 หน้า ; 4.5 x 54 ซ.ม. : รักทึบ-ล่องชาด-ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 20 (205-216) ผูก 5หัวเรื่อง : สตฺตปปกฺรณาธมฺม --เอกสารโบราณ ธัมมสังคิณี --เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
เลขทะเบียน : นพ.บ.59/5ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 64 หน้า ; 4.8 x 51.5 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา มีฉลากไม้แกะสลักชื่อชุด : มัดที่ 38 (376-381) ผูก 5หัวเรื่อง : สุชวัณณจักกกุมาร --เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
***บรรณานุกรม***
จมื่นก่งศิลป์ (หรุ่น)
จดหมายเหตุโหร ของ จมื่นก่งศิลป์ (หรุ่น) (จากประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 8 พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพนางสาวนามก่งสิน ณเมรุวัดเสนาสนารามจังหวัดพระนครศรีอยุธยา3/12/04
พระนคร
โรงพิมพ์ธรรมบรรณาคาร
2504
วรรณคดีพระยาตรังที่จัดพิมพ์ในหนังสือเล่มนี้ประกอบด้วย1. โคลงนิราศพระยาตรัง2. โคลงนิราศตามเสด็จทัพลำน้ำน้อย3. โคลงดั้นเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย4. เพลงยาวพระยาตรัง5. โคลงกวีโบราณ
เพ็ญพรรณ กลางเนิน."ปรีชา พริรินยวง" ชายต่อเรือแห่งท้องทะเลเจ้าหลาว.จันท์ยิ้ม.(3):1;ต.ค.-พ.ย.2560.
การต่อเรือเป็นอาชีพดั้งเดิมของคนทางเจ้าหลาวมายาวนาน เนื่องจากชาวบ้านไม่ค่อยมีอาชีพ นอกจากออกเรือหาปลา ทำประมง จึงทำให้เกิดการต่อเรือขึ้นเพื่อประกอบอาชีพ โดยคุณลุง "ปรีชา พริรินยวง" ได้ต่อเรือตั้งแต่อายุประมาณ 30 ต้น ๆ จนถึงปัจจุบัน โดยเริ่มจากที่พ่อของภรรยาเป็นช่างต่อเรือ ลุงก็ค่อยช่วย จนได้รับความชำนาญมาจากการลงมือทำ
มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. บทละครพูด เรื่องหัวใจนักรบ, ชิงนาง. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา, 2521. รวบรวมบทละครพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวไว้ด้วยกัน 2 เรื่อง คือ บทละครพูดเรื่องหัวใจนักรบ และบทละครพูดเรื่องชิงนาง สำหรับบทละครพูดเรื่องหัวใจนักรบนั้น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2456 เพื่อปลุกใจให้ประชาชนชาวไทยเกิดความรักชาติ รู้จักหน้าที่ของตนที่มีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และเห็นความสำคัญของกองเสือป่า ในการฝึกหัดข้าราชการตลอดจนพลเมืองทั่วไปที่ยังไม่เคยเป็นทหารให้มีความรู้ทางยุทธวิธีรวมทั้งกิจการลูกเสือ ส่วนบทละครพูดเรื่องชิงนาง เป็นบทละครพูด 4 ชุดจบ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นในนามของนายกทวีปัญญาสโมสร โดยทรงใช้เค้าโครงเรื่องจากละครพูดภาษาอังกฤษเรื่อง The Rivals ของ Mr. Richard Brinsley Sheridan และแก้ไขตอนจบ
ผู้แต่ง : สมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
สถานที่พิมพ์ : พระนคร
สำนักพิมพ์: โรงพิมพ์รุ่งเรืองธรรม
ปีที่พิมพ์ : 2508
เรื่องย่อ หนังสือกฤษณาสอนน้องคำฉันท์ กรมสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส ทรงพระนิพนธ์ถวายสมเด็จพระนั่งกล้าเจ้าอยู่หัว ว่าด้วยทางสำนวนโวหาร นับว่าเป็นหนังสือชิ้นเอกในกวีนิพนธ์เรื่องหนึ่ง ว่าด้วยเนื้อความโอวาทานุสาสนีสำหรับสตรีที่พึงปฏิบัติต่อสามี ล้วนเป็นเนื้อความที่ทรงเลือกค้นสิ่งที่เป็นส่ารประโยชน์มาทรงนิพนธ์ไว้
วันศุกร์ที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๖๓ นายประทีป เพ็งตะโก อธิบดีกรมศิลปากร ลงพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรี ตรวจงานวัดไชยชุมพลชนะสงคราม (วัดใต้) โดยมีนางสาวอัจฉรา แข็งสาริกิจ ผู้อำนวยการสำนักศิลปากรที่ ๒ สุพรรณบุรี ให้การต้อนรับ และนักโบราณคดี สำนักศิลปากรที่ ๒ สุพรรณบุรี รายงานความคืบหน้าการบูรณะซุ้มประตู ฐานวิหาร และเจดีย์ จากนั้นเดินทางไปยังพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเก่า กล่าวต้อนรับคณะอาสาสมัครท้องถิ่นในการดูแลรักษามรดกศิลปวัฒนธรรม (อสมศ.) จังหวัดกาญจนบุรี ของสำนักศิลปากรที่ ๒ สุพรรณบุรี